Page 126 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 126

434
เพราะนั่นคือ การที่เราปฏิบัตินี่นะ การที่เราแยกรูปนาม เห็นอาการเกิดดับ จิตเราเห็นดับ อารมณ์ ขนึ้ มากด็ บั ๆ ทนี ที้ อี่ าจารยบ์ อกวา่ ...เมอื่ ตอนเชา้ การทกี่ า หนดรอู้ าการเกดิ ดบั นนี่ ะ ทเี่ ราแยกชดั อนั นอี้ าการ เกิดดับของความคิด อันนี้อาการเกิดดับของเสียง อาการเกิดดับของเวทนาที่เปลี่ยนไปต่างไป แล้วก็สภาพ จิตเรานี่นะ สภาพจิตคือผลที่เกิดขึ้นนะ สภาพจิต ผลที่เกิดขึ้นขณะใหญ่ขณะเล็ก อันไหนที่ เอ่อ! จุดไหน การบ้านที่อาจารย์ให้นี่นะ ทาให้ตลอดทุกบัลลังก์ ไม่ทาแค่บัลลังก์เดียว
อ๋อ!เห็นแล้วเก็บไว้ก่อน เดี๋ยวไปส่งอารมณ์ พรุ่งนี้ก่อน ค่อยรอการบ้านใหม่ดีกว่า อันนั้น โอ้โห! ช่วงกลางวันเอ้อระเหยก่อนได้แล้ว หาคาตอบได้แล้ว อันนั้นเขาเรียกเสียเวลา จริง ๆ นะ เวลาปฏิบัติ คือ ทาแล้วต้องใช้กับทุกอารมณ์ เรากาหนดดูจิตที่รู้อาการเกิดดับ เวลาอาการเกิดดับ...ที่บอกให้จิตรู้อยู่ที่เดียว กับอาการ จิตดับไปด้วยไหม ตอนนั่งเกิดดับ ตอนเดินก็สังเกต อิริยาบถย่อยก็ต้องสังเกตแบบเดียวกัน ทุก ๆ ขณะ แล้วสภาวะเขาจะต่างจากเดิม เขาจะเปลี่ยนไป นี่คือความต่อเนื่องของสติเรา
อุ๊ย!เห็นแล้ว บางคนเห็นตั้งแต่วันแรกที่อาจารย์บอกเลย เห็นตั้งแต่บัลลังก์แรกที่อาจารย์บอก เก็บ เอาไว้อีก อีกอาทิตย์หนึ่งค่อยมาส่ง แต่ตอนระหว่างอาทิตย์นี่นะ ปล่อยสบาย อันนี้ก็ไม่ดีนะ เป็นความ ไม่ต่อเนื่อง เพราะฉะนั้นการที่เจาะสภาวะ เพื่อความต่อเนื่องของสภาวธรรม...ให้ชัด แล้วยิ่งเห็นแล้วนี่นะ ทา ตอ่ ไป ดสู วิ า่ เขาเปลยี่ นอยา่ งไร เปลยี่ นอยา่ งไร เปลยี่ นอยา่ งไร สงั เกตไหมวา่ ธรรมะนนี่ ะ บางอยา่ งอาจารย์ เฉลย แต่บางครั้งส่วนใหญ่คือ...ตั้งคาถามนะ ก็บอกว่าให้ดูว่าเขาเปลี่ยนอย่างไร เปลี่ยนอย่างไร ต่อไปเป็น อย่างไร ต่อไปเป็นอย่างไร
ตัวนี้คือตัวสาคัญเลยก็คือว่า เราใส่ใจการเปลี่ยนแปลง หน้าที่เราคือสนใจความเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่ทาไม่เป็น...แบบนี้ คือต้องทาแบบนี้ เข้าไปรู้ ให้สติเข้าถึงอาการบ่อย ๆ ทาแบบนี้ ให้สติเข้าถึง อาการ เกาะติดอาการให้มากที่สุดให้บ่อยที่สุด แต่สภาวธรรมอาการจะเปลี่ยนไปอย่างไร นั่นเรื่องของเขา เพราะฉะน้ัน ทาแบบนี้แล้วดูเขาเปลี่ยนเป็น พอเปลี่ยนเป็นอย่างนี้ พอมาเปลี่ยน...เข้าไปอีก เปลี่ยนเป็น อย่างนี้เข้าไปอีก เปลี่ยนเป็นอย่างนั้นนเข้าไปอีก เปลี่ยนเป็นอย่างไร นั่นคือหน้าที่ของเรา ทาแบบนั้น อย่างเดียว
เพราะนั่นคืออาการพระไตรลักษณ์ ไม่ว่าจะเป็นสภาพจิต ไม่ว่าจะเป็นอาการเกิดดับของอารมณ์ ต่าง ๆ นะ อาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ พูดรวม ๆ นะ เป็นความคิด เป็นเวทนา เอ่อ! เป็นภาพที่เห็น แล้วอีกอย่างหนึ่งที่เรายังใช้น้อยกันนะ โยคีจะพิจารณาน้อยมาก ใช้น้อย เล่าน้อย แสดงว่าใส่ใจน้อย เวลา เล่าสภาวะนี่น้อยมาก แสดงว่า ที่เล่าน้อยเหมือนกับไม่สาคัญนะ เป็นอารมณ์ที่ไม่สาคัญ อย่างเช่นการเห็น แบบนี้ เวลาเรามอง อาจารย์เคยให้ทา พอมองปึ้บ ความรู้สึกจิตที่มาเห็นนี่นะ มองเห็นปึ้บนี่นะ จิตดวงนี้ ที่มารับรู้นี่นะ ค้างอยู่หรือดับไป รู้แล้ว เขามีค้างอยู่หรือดับไป
เพราะฉะนั้น ถ้าดับแต่ละครั้งนี่นะ รู้สึกจิตดวงใหม่ จิตดวงใหม่ขึ้นมารู้สึกเป็นอย่างไร พอดับอีก ต่างจากเดิมอย่างไร จิตดวงใหม่ขึ้นมารู้สึกเป็นอย่างไร...ขณะต่อไป ทีนี้อาจารย์ยกแบบนี้ เราจะนั่งมองเพ่ง เพ่งอะไร ดูภาพอย่างเดียว ดูภาพนี้อย่างเดียว จริง ๆ แล้ว ต้องภาพนี้ ๆ ๆ ๆ แต่ละขณะที่เรารู้ เหมือน


































































































   124   125   126   127   128