Page 199 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 199

507
การที่มาดูจิตที่แยกออกมาจากเวทนา หลุดจากวงจรอันนั้นแล้ว พอมาดูที่จิต จิตมีความสงบ มี ความตั้งมั่น มีความผ่องใส จิตที่สงบที่ตั้งมั่น มีความผ่องใส มีกาลังขึ้น ถามว่าเวทนาทางจิตอันนั้นอยู่ได้ ไหม หรือว่าหายไปเกลี้ยงไป ถ้าเวทนาดับไป เวทนาทางจิตหายไป เหลืออะไร เหลือแต่ตัวสัญญา อารมณ์ ที่เป็นสัญญาปรากฏเกิดขึ้นมา ก็สังเกตต่อว่า สัญญาที่เกิดขึ้นมานั้น แทนที่จะดึงเข้ามาข้างในให้มีรสชาติ ให้มีเวทนาบีบคั้นให้เป็นทุกขเวทนา ก็ให้เป็นแค่สัญญา ที่ปรากฏเกิดขึ้นมาในที่ว่าง
ถามว่าทาได้อย่างไร ถ้าเราแยกแบบนี้ได้ สามารถทาได้ด้วยการทาจิตให้กว้าง เอาความรู้สึกว่าเป็น เราออกไป ละความรสู้ กึ วา่ เปน็ เราอยา่ งสนิ้ เชงิ แลว้ เหลอื อะไร เหลอื เจตนาทจี่ ะศกึ ษา พจิ ารณาถงึ ธรรมชาติ ถึงความเป็นไป ถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ที่เกิดขึ้นว่า อารมณ์ผัสสะที่เกิดขึ้นมา ทาไมเวทนาเกิดขึ้นมาแล้ว ค้างอยู่ อยู่นานแค่ไหน ดับได้เร็วแค่ไหน เพราะอะไร
จริง ๆ แล้ว เหตุปัจจัยที่เกิดขึ้น อย่างที่บอกแล้ว บางอย่างเป็นวิบาก เป็นอาการของวิบาก ที่สั่งสม มาในอดตี และกบั เปน็ กรรม กรรมผสมกบั กรรมในปจั จบุ นั เปน็ อะไร เปน็ มโนกรรม เปน็ มโนกรรมมวี บิ าก เป็นผัสสะ เข้ามากระทบ กระทบทางตา กระทบทางหู แล้วเข้าถึงใจ มีเวทนาทางใจเกิดขึ้นมา ทาให้มีตัว กรรม มโนกรรมเกิดขึ้น มโนกรรม...นี่ต้องสังเกตอีกอย่างหนึ่งว่า ความสงสัยอย่างเดียว ไม่เรียกว่าเป็น มโนกรรม แต่การกระทาด้วยจิตเรา คิดจะทาอย่างนี้ทาแบบนี้ อย่างนั้นนั่นแหละ เป็นมโนกรรมเกิดขึ้น
การกระทาทางจิตเกิดขึ้น ก็จะเป็นมโนกรรม แต่การสงสัยทาให้เกิดการค้นคว้าวิจัย วิเคราะห์ถึง สภาวะเกิดขึ้น นั้นก็จะเป็นกรรม...การพัฒนาปัญญาอย่างหนึ่ง เป็นกรรมไหม ก็จะเป็นกรรมที่จะแสวงหา แตจ่ ะเปน็ การแสวงหาสจั ธรรมความจรงิ หรอื แสวงหาอะไร อนั นคี้ อื อยา่ งหนงึ่ แตถ่ า้ เราพจิ ารณา ดว้ ยความ รู้สึกที่ไม่มีตัวตน ก็จะเป็นปัญญา ที่พิจารณาถึงเหตุปัจจัยที่เกิดขึ้นอย่างเดียว ไม่มีอารมณ์ ไม่มีความรู้สึก ของเราเข้าไปร่วม เวทนาทางจิตจะลดไปเร็ว
จะเกดิ ความอสิ ระ จะเกดิ ความเขา้ ใจในธรรม ในเหตปุ จั จยั ของสภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ นนั้ ไดแ้ ยบคาย มากขึ้น ได้มีความละเอียดมากขึ้น ว่าอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้น อารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นั้น ย่อมเป็นไป ตามเหตุตามปัจจัยของตนอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็น อารมณ์ที่เป็นฝ่ายกุศล หรืออกุศล วิบากที่เป็นกุศลหรืออกุศล ที่ปรากฏที่เคยทาเอาไว้ ก็ปรากฏเกิดขึ้น เป็นเรื่องปกติธรรมดา
และวิบาก...เวลาอารมณ์วิบากปรากฏขึ้นมา เขาไม่ได้บอกเราล่วงหน้านะ ไม่ได้บอกเราล่วงหน้า ว่า เดยี๋ วจะมาละนะ แตถ่ า้ พวกมคี วามละเอยี ด มคี วามละเอยี ดมคี วามสงบ มคี วามแยบคาย อาจจะจบั สญั ญาณ บางอย่างได้ ถึงอารมณ์บางอย่างที่จะเกิดขึ้นมา วิบากที่จะเกิดขึ้นมา นั่นคือต้องอาศัยความสังเกต มีการ สังเกตให้ละเอียด แล้วเกิดความระวัง แล้วก็มีความระวัง ระวังอย่างไร คือมีสติ มีความตั้งมั่น พร้อมที่จะ รับรู้ พร้อมที่จะเข้าใจถึงสภาวธรรมที่เกิดขึ้น พร้อมที่จะละ พร้อมที่จะปล่อยวาง พร้อมที่จะละ พร้อมที่จะ ปล่อยวาง และพร้อมที่จะเข้าใจในสภาวธรรมที่เกิดขึ้น


































































































   197   198   199   200   201