Page 197 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 197

505
มีลักษณะจากที่พลิ้วไหวหายไป พลิ้วไหวหายไป พอมีเจตนาที่จะเข้าไปกาหนดรู้ อาการเกิดดับนั้น อย่างต่อเนื่อง จากที่พลิ้วไหว เขาเปลี่ยนไปอย่างไร อาการตรงนี้เขาเรียกว่า อาการเกิดดับมีลักษณะพลิ้ว แล้วหาย พลิ้วไหวแล้วหาย ไหวแล้วหาย เมื่อมีเจตนา ที่จะเข้าไปกาหนดรู้อาการอย่างต่อเนื่อง หรือเข้าให้ ถึงอาการ จากที่พลิ้วหายเขาเปลี่ยนไปอย่างไร เปลี่ยนเป็นแบบไหน นั่นคือจุดที่โยคีจะพึงใส่ใจ พึงกาหนด รู้ให้ชัด ถึงความเปลี่ยนไป ถึงความต่างไป นี่คือวิธีการกาหนดสภาวะที่เกิดขึ้น และกาหนดรู้จนอาการเกิด ดับนั้น ๆ หมดไป
ทนี กี้ ารพจิ ารณาสภาวธรรม พจิ ารณาสงั เกตวา่ สภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ นี้ อาการทกี่ ลา่ วมา อาการเกิดดับของอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เราจะเห็นเป็นอาการเกิดดับของรูป เป็นอาการทางกาย เป็น อาการของรูป เป็นอาการของเสียง หรือเป็นอาการของความคิด หรือเป็นอาการของความร้อน ความเคร่ง ตึง ความหนัก ความเบา
ตรงนี้เราจะได้เห็นว่า อาการที่เกิดขึ้น อาศัยอะไรเป็นอาการเกิดดับของรูป ถ้าเป็นอาการเกิดดับ ของรูป ทาไมไม่มีรูปร่างของตัว เหลือแต่อาการเกิดดับที่ผุดขึ้นมาดับไป ดับไป ตรงนี้เป็นการเพิกบัญญัติ เหลอื แตอ่ าการเกดิ ดบั ทเี่ ปน็ อารมณป์ รมตั ถ์ และการพจิ ารณากค็ อื วา่ เมอื่ เหน็ อาการแบบนเี้ กดิ ขนึ้ จติ มกี าร ปรุงแต่งให้เป็นอกุศล มีการปรุงแต่งหรือเปล่า หรืออาการเหล่านี้ปรากฏเกิดขึ้นมา ไม่ได้เกิดจากความคิด ของเรา เราอยากให้เป็น แต่เป็นอาการที่ปรากฏเกิดขึ้นมาเอง
เมื่อสติมีกาลังแบบนี้ สมาธิแก่กล้าแบบนี้ มีความตั้งมั่นแบบนี้ สติแก่กล้าแบบนี้ อาการเกิดดับนี้ก็ ปรากฏเกดิ ขนึ้ มา นนั่ คอื การพจิ ารณาถงึ ความเปน็ ไป ตามเหตแุ ละปจั จยั ของสภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏ แลว้ อีกอย่างหนึ่งก็คือว่า สภาวธรรมที่ปรากฏตรงนี้ ถ้าเราพิจารณาในหลักของไตรลักษณ์ อย่างหนึ่งก็คือว่า ที่ บอกมีความรู้สึกว่าเป็นเราไหม อาการที่เกิดขึ้นบอกว่าเป็นเราไหม ความรู้สึกที่ทาหน้าที่รู้มีเรา บอกว่าเป็น เราหรือเปล่า หรือมีแค่ความรู้สึก หรือจิตที่กาลังทาหน้าที่รู้ กับอาการที่ปรากฏเกิดขึ้นเท่านั้น
เมอื่ เหน็ อยา่ งนี้ มแี ตอ่ าการทปี่ รากฏเกดิ ขนึ้ ไมม่ เี รา ลองสา รวจดวู า่ แลว้ ในแตล่ ะขณะไมม่ เี รา อาการ นั้นเขายังทาหน้าที่ของตนอยู่ ยิ่งเห็นความไม่มีเรา แล้วรู้สึกอย่างไร ขณะที่เห็นความไม่มีเรา เห็นแต่อาการ เกิดดับและเปลี่ยนไป กับจิตที่ทาหน้าที่รู้ คาว่ารู้สึกอย่างไรนี่...มักจะถาม ถามความรู้สึก รู้สึกอย่างไร หรือ คิดว่าอย่างไร มีอะไรเป็นของเรา เมื่อไม่มีอะไรเป็นของเรา รูปนามขันธ์ ๕ ทาหน้าที่ของตน แต่เมื่อมีผัสสะ เกิดขึ้นมา ตรงนี้แหละที่เกี่ยวข้องกัน รูปนามอันนี้ทาหน้าที่ตามธรรมชาติ
แต่พอถอยกลับมาสู่บัญญัติ มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีผัสสะขึ้นมา มีรูป มีเสียง มีกลิ่น มีรส เข้า มากระทบกายขึ้นมา พอกระทบกายเท่านั้น มีเวทนาเกิดขึ้น กระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็มีเวทนา เกิดขึ้น เวทนาประเภทไหน ถ้าเราแยกเป็นทุกขเวทนา สุขเวทนา กับอุเบกขาเวทนา แยกเป็นแค่เวทนา เมื่อ มีผัสสะเกิดขึ้นมา เวทนาเกิดขึ้น แล้วทาอย่างไร กาหนดรู้ถึงอาการของเวทนาอันนั้น เกิดดับอย่างไร


































































































   195   196   197   198   199