Page 195 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 195

503
แต่ถ้าอาการเกิดดับ เกิดตรงนั้น ดับตรงนั้น แล้วก็เปลี่ยนไปตาแหน่งใหม่ แล้วก็เกิดใหม่แล้วก็ดับ ตรงนนั้ อกี เขาเรยี กอาการเกดิ ดบั เปลยี่ นยา้ ยที่ เกดิ ดบั เกดิ แลว้ ดบั ตา แหนง่ เดมิ แตว่ า่ เปลยี่ น เกดิ ตรงไหน ดับตรงนั้น แต่เปลี่ยนตาแหน่งไปเรื่อย ๆ จากข้างหน้าเป็นด้านซ้ายด้านขวา ไกลออกไป ใกล้เข้าไป ใกล้เข้า มา หรือว่าเปลี่ยนตาแหน่งแบบนี้ นั่นคือ ความแตกต่างของอาการเกิดดับ
ถา้ อาการเกดิ ดบั เขาเปลยี่ นตา แหนง่ แบบนี้ เราจะทา อยา่ งไร อาการเกดิ ดบั แบบนี้ ลองสงั เกตดวู า่ ที่ เขาเปลี่ยนตาแหน่งไป แต่ละจุดด้านซ้ายด้านขวา ข้างหน้าข้างในสลับกันไป จะเห็นว่า ถึงแม้จะหลาย ๆ จุด แต่สังเกตว่า แต่ละจุดเขาเกิดทีละจุดหรือเปล่า ถ้ามีอาการเกิดทีละจุด เกิดแล้วดับไป เกิดแล้วดับไป เกิด แล้วดับไป ก็จะเป็นการตามรู้อาการเกิดดับของอารมณ์นั้น เป็นขณะ ๆ ๆ ไป ตามรู้กาหนดรู้ จนอาการเกิด ดับที่เปลี่ยนไป
สิ่งที่ต้องสังเกตก็คือว่า เมื่อมีสติตามกาหนดรู้ อาการเกิดดับตรงนี้มากขึ้น รู้ทันเข้าไปถึงอาการเกิด ดับ ที่เปลี่ยนตาแหน่งไป อย่างไรโยคีก็ต้องสังเกตว่า อาการเกิดดับที่เปลี่ยนตาแหน่งนั้น เกิดตาแหน่งนี้ดับ แบบไหน ดับเด็ดขาดไหม เกิดตาแหน่งต่อไปดับอย่างไร เด็ดขาดมากขึ้น ดับเร็วกว่าเดิมไหม สังเกตแบบ นั้นไป จนอาการเกิดดับนั้นหมดไป จุดหนึ่งที่ต้องสังเกตก็คือว่า หลังจากอาการที่เกิดดับที่เปลี่ยนตาแหน่ง ไป สักระยะหนึ่งจนหมดไป หรือเปลี่ยนไปสักระยะ เหลือแค่จุดเดียว เกิดดับแค่จุดเดียว เกิดตาแหน่งเดิม เกิดดับ เกิดดับอยู่ตรงนั้น นี่ก็คือ ความเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนไป ที่โยคีจะพึงสังเกต
ไมใ่ ชแ่ คร่ ู้ แคม่ อี าการเกดิ ดบั เกดิ ดบั อยา่ งเดยี ว อาการเกดิ ดบั เปลยี่ นไปอยา่ งไร ตา่ งจากเดมิ อยา่ งไร นนั่ คอื จดุ ทตี่ อ้ งสงั เกต และเมอื่ กา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ทเี่ ปลยี่ นไปเรอื่ ย ๆ แบบนี้ จติ จากทมี่ คี วามสงบ ความนงิ่ เฉย พอเริ่มมีความตื่นตัวขึ้น อาการเกิดดับเริ่มชัดขึ้น พอกาหนดอาการเกิดดับต่อเนื่องไป จนอาการเกิดดับนี้สิ้น สดุ ลง สภาพจติ เปน็ อยา่ งไร จติ เปลยี่ น...มคี วามสวา่ งมากกวา่ เดมิ มคี วามผอ่ งใสมากกวา่ เดมิ หรอื มคี วามสงบ มากขนึ้ กวา่ เดมิ หรอื มคี วามหนกั แนน่ มคี วามตงั้ มนั่ มากกวา่ เดมิ นนั่ กค็ อื ลกั ษณะของสภาพจติ ทเี่ ปลยี่ นไป
ถ้าพูดถึงสภาพจิตอันนี้ โยคีจะต้องเข้าใจอย่างหนึ่งว่า ต้องเข้าใจว่า สภาพจิตนี่ สภาพจิตที่สงบที่ มั่นคง คือเป็นสภาพจิตใจของตัวโยคีเอง ถ้าเรียกก็คือ ความรู้สึกเรา ความรู้สึกเรา หรือจิตของเรามีความ หนักแน่น มั่นคงขึ้น ความสงบขึ้น ถึงแม้ไม่มีตัวตน แต่ถ้าเรียกโดยสมมุติ สมมุติสัจจะ ความสงบความ มนั่ คง ไมไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ เรา ถา้ โดยสภาวะปรมตั ถ์ อาจจะเรยี กวา่ จติ มคี วามรสู้ กึ สงบ มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ สภาพ จิตมีความสงบ มีความตั้งมั่นตื่นตัวขึ้น สว่างขึ้น
ถามว่า สภาพจิตนั้นเป็นของใคร ถ้าถามว่าจิตดวงนั้น บอกว่าเป็นเราไหม เขาก็ไม่บอกว่าเป็นเรา หรอก แต่โดยสมมุติ ที่เราเรียกกัน ที่เราเรียกโดยสมมุติก็คือว่า ต้องรู้ว่าจิตเรามีกาลังมากขึ้น สภาพจิต เราตื่นตัวมากขึ้น หนักแน่นขึ้น มั่นคงขึ้น เพราะอะไร สภาพจิตตรงนี้ ถึงต้องสังเกตแบบนั้น นั่นคือสภาพ จติขณะใหญ่ทจี่ะรถู้งึความเปลยี่นไปเพราะจติตรงนจี้ะเปน็บาทเปน็ฐานหรอืจติทตี่นื่ตวัขนึ้ตงั้มนั่ขนึ้นนี่ะ เราจะพิจารณาแล้วจะเห็นจิตที่ตื่นตัวขึ้น ตั้งมั่นขึ้น มีตัวตนมีความเป็นเรา...มีกิเลสตัวไหนเกิดขึ้นอยู่ เป็น จิตที่ผ่องใส เป็นจิตที่สว่าง เป็นจิตที่สะอาดหรือเปล่า ก็ได้อาศัยการพิจารณาตรงนี้


































































































   193   194   195   196   197