Page 194 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 194
502
ลกั ษณะของการเกดิ ดบั ของอารมณท์ ปี่ รากฏขนึ้ มานนั้ มคี วามตอ่ เนอื่ งจากบลั ลงั กท์ ผี่ า่ นมา มคี วาม ตอ่เนอื่งจากบลัลงักท์ผี่า่นมานนั้เปน็อยา่งไรยกตวัอยา่งเชน่บลัลงักท์ผี่า่นมาขณะทปี่ฏบิตัิขณะทกี่าหนด สภาวธรรมที่เกิดขึ้น อาการเกิดดับของอารมณ์ที่เกิดขึ้นนั้น มีลักษณะเกิดดับ เป็นขณะ ๆ แล้วค่อย ๆ บาง ค่อย ๆ เบา ค่อย ๆ เลือน ค่อยหายไป ขณะที่กาหนดรู้อาการเกิดดับ เป็นขณะ ๆ บางเบาหายไป สภาพ จิตมีความรู้สึกตื่นตัว มีความผ่องใสขึ้นมา แล้วก็ออกจากกรรมฐาน
พอมาบัลลังก์นี้ เรายกจิตขึ้นสู่ความว่าง เข้าสู่ความสงบ และความตื่นตัว ความสว่างนั้นได้ แล้วก็ มีอาการเกิดดับปรากฏขึ้นมา จากบัลลังก์ที่แล้ว มีอาการเกิดดับค่อย ๆ เป็นขณะค่อย ๆ บาง ค่อย ๆ เบา แลว้ กห็ ายไป ตอ่ มาบลั ลงั กน์ ี้ พอนงิ่ ...ยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง มคี วามสวา่ งเกดิ ขนึ้ มา พอนงิ่ ...ตงั้ ใจทจี่ ะกา หนด รู้อารมณ์ ที่กาลังปรากฏอยู่ ปรากฏเกิดขึ้นมาเฉพาะหน้า อาการเกิดดับเกิดขึ้นมา กลายเป็น...เปลี่ยนเป็น ผุดขึ้นมาเป็นขณะ ๆ ๆ เร็วกว่าเดิม นั่นคือ ความต่อเนื่องของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
เมอื่ เปน็ แบบนี้ กใ็ หก้ า หนดรู้ มสี ตติ งั้ มนั่ และใหเ้ กาะตดิ อาการเกดิ ดบั นนั้ ไป จนอาการเกดิ ดบั นนั้ สนิ้ สดุ ลง นนั่ คอื ความตอ่ เนอื่ งของสภาวธรรม จากบลั ลงั กท์ แี่ ลว้ แลว้ ถา้ ใครรสู้ กึ วา่ พอหลบั ตาลงบลั ลงั กท์ แี่ ลว้ บลั ลงั กท์ แี่ ลว้ มแี ตค่ วามสงบ มแี ตค่ วามเงยี บความสงบ พอมาบลั ลงั กน์ ี้ ยกจติ ขนึ้ สคู่ วามวา่ ง แลว้ เขา้ ถงึ ความ เงียบสงบนั้นทันที แต่ว่าเข้าถึงความเงียบสงบแล้ว...นิ่งนิดหนึ่ง สังเกตจิตที่นิ่งเงียบสงบนั้น จิตรู้สึกมีกาลัง มากขนึ้ ความรสู้ กึ เรา...รสู้ กึ มคี วามตงั้ มนั่ ขนึ้ หนกั แนน่ ขนึ้ อาการเกดิ ดบั ของอารมณต์ า่ ง ๆ เรมิ่ ปรากฏขนึ้ มา
ของอารมณ์ต่าง ๆ นี่ หมายถึงว่า อารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นอาการเกิดดับของเสียง ที่ กาลังฟังอยู่ ไม่ว่าจะเป็นอาการเกิดดับ อาการเต้นของชีพจร อาการเต้นของหัวใจ นั้นก็คือ อาการเกิดดับ ที่ปรากฏเกิดขึ้นมา หลังจากจิตที่มีความตื่นตัวขึ้น มีความตั้งมั่นขึ้น การพิจารณาธรรมแบบนี้ เราจะเห็น ว่า พอสภาพจิตเปลี่ยน จิตที่เปลี่ยนจากที่สงบเงียบ เปลี่ยนเป็นจิตที่ตั้งมั่นขึ้น พอมีกาลังขึ้น หนักแน่นขึ้น หรือตั้งมั่นขึ้น อาการเกิดดับปรากฏชัดขึ้นมา
อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล ทาไมก่อนหน้านี้ มีแต่ความเงียบสงบอย่างเดียว แล้วอาการเกิดดับไม่ ปรากฏ...ไม่มี แต่พอจิตมีความตื่นตัวขึ้น ตั้งมั่นขึ้น อาการเกิดดับกลับปรากฏขึ้นมา นั่นก็คือเหตุปัจจัย เหตุปัจจัยตรงไหน จิตที่มีกาลังมากขึ้น จากที่สงบเงียบ พอจิตมีความตั้งมั่นขึ้นตื่นตัวขึ้น ตรงที่ตื่นตัวขึ้นนี่ แหละ เป็นปัจจัยหนึ่ง ที่ตื่นตัวขึ้น ก็คือจิตมีสติมีกาลังมากขึ้น สติมีกาลังมากขึ้น จากที่มีความสงบมีสมาธิ อยู่ พอมีความตื่นตัว หรือสติมีกาลังมากขึ้น ก็เริ่มเห็นอาการเกิดดับปรากฏเกิดขึ้น
อาการเกิดดับ ของอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งปรากฏเกิดขึ้นมา และการพิจารณาธรรม พอมีอาการ เกิดดับเกิดขึ้นมา หน้าที่ของผู้ปฏิบัติคือ เข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับนั้นต่อ การเข้าไปกาหนดรู้ มีสติเข้า ให้ถึงอาการ พร้อมกับสังเกตว่า อาการเกิดดับที่กาลังปรากฏนี้ เปลี่ยนไปอย่างไร จากที่ไม่มีอาการเกิดดับ มีอาการเกิดดับปรากฏขึ้นมา เกิดดับในลักษณะอย่างไร อาการเกิดดับที่เกิดขึ้น เกิดอยู่กับที่ หรือเกิดอยู่ ตาแหน่งเดิมตลอดเวลา หรือเปลี่ยนตาแหน่งไป เกิดอยู่กับที่ คือผุดตรงไหนดับตรงนั้น เกิดตรงไหนดับ ตรงนั้น อันนี้เรียกว่าเกิดอยู่กับที่