Page 212 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 212
520
จะได้เห็นว่า คาว่าเวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตานั้นเป็นอย่างไร ทุกขลักษณะ ความเกิดขึ้น ตงั้ อยู่ ดบั ไป ของเวทนานนั้ เปน็ อยา่ งไร ความเปน็ อนจิ จงั เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ ทบี่ อกไมใ่ ชข่ องเรานนั้ เปน็ อยา่ งไร และการพจิ ารณาแบบนนี้ แี่ หละ การจะไดเ้ หน็ วา่ เวทนาทางกายทเี่ กดิ ขนึ้ กม็ คี วามเปลยี่ นแปลง เปน็ ไปตาม เหตปุ จั จยั ของตน ทา ใหป้ ญั ญาเหน็ ชดั ถงึ สจั ธรรม สภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ จรงิ ๆ นคี่ อื การพจิ ารณา การกาหนดรู้อาการของเวทนา ที่เรียกว่าเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
อันนี้คือพูดถึงความปวด แต่ในขณะเดียวกัน เวทนาที่ต่างไปอย่างหนึ่งก็คือ ลักษณะจากปวด เป็น อาการชา จากทชี่ า ๆ เปน็ อาการคนั มอี าการคนั แปลบ๊ ๆ ๆ เหมอื นมดไต่ เหมอื นยงุ กดั อนั นกี้ ค็ อื เปน็ เวทนา ทางกาย ที่เกิดขึ้นที่เปลี่ยนไป และเวทนาที่เปลี่ยนแปลงตรงนี้ ที่ต่างไปตรงนี้ ก็เป็นตัวบอกถึงกาลังของ สติ สมาธิ และปัญญาของผู้ปฏิบัติ ของโยคี ว่าขณะนี้สติสมาธิปัญญาแก่กล้าขนาดไหน เวทนาแบบนี้จึง ปรากฏเกิดขึ้นมา จึงเปลี่ยนแปลงในลักษณะอย่างนี้
เพราะฉะนั้น การพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลง ถึงกฎไตรลักษณ์ของเวทนาที่เกิดขึ้น จึงเป็นสิ่ง สาคัญ ทั้งทางกายและทางใจ นี่คืออารมณ์หลักอีกอย่างหนึ่ง ที่ปรากฏเกิดขึ้นมาแล้ว โยคีผู้ปฏิบัติสามารถ เอามาเป็นอารมณ์กรรมฐานได้ ที่เรียกกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน และจิตตานุ- ปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานนี้ รู้อย่างไร หนึ่ง คาว่าจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน หนึ่ง ก็คือ เหน็ วา่ จติ กบั เวทนาเปน็ คนละสว่ นกนั การแยกนามกบั นามเปน็ แยกจติ เวทนากบั จติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ เปน็ คนละ ส่วนกัน อันนี้อย่างหนึ่ง
และอกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื ตวั สภาพจติ สภาพจติ ใจมคี วามสงบ มคี วามสขุ มคี วามอมิ่ ใจ มคี วามผอ่ งใส มีความเบิกบาน อันนั้นคือลักษณะของสภาพจิต ทีนี้จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือการตามกาหนดรู้อาการ ของจติ อาการทางจติ ทเี่ กดิ ขนึ้ กก็ า หนดรแู้ บบเดยี วกนั กา หนดรถู้ งึ ความเปลยี่ นแปลงไป อยา่ งจติ ใจของเรา เวลาเรากาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น การตามรู้อาการของลมหายใจเข้าออก ตามกาหนดรู้อาการ ของพองยุบ หรือตามกาหนดรู้อาการเวทนาก็ตาม
พออาการเหล่านั้นหมดไปหยุดไป หรือตามรู้ไปสักระยะ ตามกาหนดรู้ไปสักระยะหนึ่ง แล้วก็ใจ รู้สึกมีความตื่นตัวขึ้น มีความตั้งมั่นขึ้น มีความสงบขึ้น มีความสว่าง มีความผ่องใสขึ้น นั่นก็คือลักษณะ ของสภาพจิต นั่นคือเป็นลักษณะของจิตอย่างหนึ่ง
ทีนี้การดูจิตในจิต การที่เราพิจารณาอาการเกิดดับของเวทนา ถ้าเห็นว่าเวทนา อาการเกิดดับของ เวทนา ที่ปรากฏเกิดขึ้นมา กาหนดรู้แล้ว เห็นว่าเวทนาเกิดดับ มีอาการเกิดดับชัดเจน มีการดับ ดับแบบไม่ เหลือเศษ ดับแล้วขาดไปหมดไป แล้วเห็นว่าจิตที่เข้าไปกาหนดรู้ อาการเกิดดับของเวทนาก็ชัด การที่ใส่ใจ ตอ่ ไปกค็ อื การใสใ่ จจติ ทเี่ ขา้ ไปกา หนดรอู้ าการ ไมว่ า่ จะเปน็ อาการของเวทนา ทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ดบั อยู่ แลว้ ก็เห็นว่า จิตเข้าไปรู้อาการเกิดดับของเวทนา แต่ละขณะนั้น จิตที่เข้าไปรู้มีอาการดับไปด้วย เป็นขณะ ๆ นี่ คือเห็นจิต เห็นทั้งจิต เห็นทั้งเวทนา