Page 36 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเล่าสภาวะ
P. 36

788
ทีนี้ลักษณะของต้นจิต ถ้าสติเรามีกาลังขึ้น จากที่(รู้สึก)นิดหนึ่ง บางทีเราเห็นจิตมันสั่งงาน มันจะ เห็นเลยว่าเป็นเส้นพุ่งไปที่อาการ พอจะขยับปุ๊บ พุ่งปุ๊บไปที่อาการ อาการก็เคลื่อนต่อชัดเจน นั่นคืออาการ ของต้นจิต ต้นจิตตรงนี้เปรียบเทียบกับคาบริกรรมของเราก็คืออยํากหนอ อยํากหนอ อยํากหนอ ต้นจิต สั่งงานไปกี่ครั้งแล้ว “อยาก” นี่ ? อยากยกหนอ-อยากยกหนอ-อยากยกหนอ สั่งสามครั้งแล้วยังไม่ยอมยก เลย! พอต้นจิตจะสั่งยกจริง ๆ อ้ําว! หํายไปแล้วไม่เห็นต้นจิต อยากจนจบแล้ว! ที่ท่านให้ใช้คาว่า “อยาก” นี่เพื่อให้กาหนดรู้ รู้ก่อนขยับ รู้ก่อนอาการ ก็คือต้นจิตนั่นเอง
แต่สาหรับผู้ที่ยังสติอ่อน ท่านก็เลยใช้คาว่าอยากหนอ อยากยกหนอ อยากนั่งหนอ อยากยืนหนอ ก็คือจะใช้คาบริกรรมนาหน้า บริกรรมว่า “อยาก” แต่ “ไม่เห็นความอยาก” หรอก ตรงนี้กลายเป็นว่า คาบริกรรมกับความรู้สึกมันซ้อนกัน คาบริกรรม “ปิดความรู้สึก” คือจิตที่อยากจะนั่งจริง ๆ แล้วผิดไหม ? ไม่ผิด ดีแล้วสาหรับผู้ที่เพิ่งฝึกใหม่ ๆ เพียงแต่ว่าให้เข้าใจว่าใช้คานี้เพื่อจะได้ “เห็นจิตของเราสั่งงานก่อน” รู้สึกก่อนขยับ รู้สึกก่อนเคลื่อนไหว... เมื่อเราสังเกตต้นจิตชัดขึ้น ๆ สิ่งหนึ่งที่ตามมาต้องสังเกตว่าเรา เห็น “ทันเจตนา” การเคลื่อนไหวของตัวเองไหม เวลาเราจะเคลื่อนไหว...รู้สึกไหมว่าเจตนาที่เราเคลื่อนไหว นี่เพื่ออะไร ทาไมต้อง(เคลื่อนไหว)แบบนี้ ?
เมื่อกาหนดต้นจิตได้มากขึ้นจะสั่งกายเราหยุดกลางคันได้เลย เวลาเราเดินไปแล้วจะเหยียบอะไร สักอย่างหนึ่ง เขาสั่งหยุดกลางคันได้เลย แต่เพราะเราไม่เห็นถึงการทางานของจิตเลยรู้สึกว่ามันเป็นแค่ ส ญั ช า ต ญ า ณ ข อ ง เ ร า อ ย า่ ง เ ช น่ ข ณ ะ ท กี ่ า้ ว ไ ป พ อ ว า ง เ ท า้ ล ง จ ะ เ ห ย ยี บ ส ตั ว ์ ต ร ง น จี ้ ติ ม นั ส งั ่ ต อ่ ไ ม ใ่ ห ล้ ง ต ร ง น นั ้ ก็เลยขยับต่อไปอีกนิดหนึ่งแล้วข้ามไป นั่นคือต้นจิต (ตอนนี้)ยังสังเกตต้นจิตไม่ทันไม่เป็นไร วันนี้ได้แค่นี้ วนั ตอ่ ไปตอ้ งสงั เกตตอ่ ไปเรอื่ ย ๆ เพราะการกา หนดตน้ จติ เปน็ การฝกึ ใหร้ ทู้ นั วถิ จี ติ สงั่ งานในการเคลอื่ นไหว ตรงนี้จะทาให้เราเห็นอีกจุดหนึ่งที่บอกว่า “จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว” ถ้าจิตไม่สั่ง-กายไม่ขยับ อีกอย่างหนึ่ง เขาเรียกว่า “จิตตชรูป” รูปที่เกิดจากจิต จิตสั่งเขาจึงทาไปเคลื่อนไป นี่คือสภาวธรรมที่เกิดขึ้น
ต้นจิตกับอิริยาบถย่อยนี่ควบคู่กัน เวลาเราจะยก เห็นต้นจิตแล้วก็สังเกตต่อเลยว่าอาการที่เรา ยกมือขึ้นหรือหยิบจับอะไรนี่เป็นยังไง หยิบจับชัดเจนขึ้นไหม เวลาวางอะไรชัดเจนไหม ? จริง ๆ พอมี ต้นจิต เวลาเราหยิบจับจะรู้สึกว่ามันมีความชัดเจนในตัว ไม่ต้องกลัวหลุด(มือ) เวลาวาง(ของ) ใครกาหนด ต้นจิตได้จะไม่ค่อยลืม อาการขี้ลืมจะน้อย เพราะเราจะรู้เลยว่ากาลังจะสั่งทาอะไร ๆ แล้วชัดว่าวางตรงนี้ จุดนี้ ใครที่เป็นคนขี้ลืม ลองเพิ่มต้นจิต แล้วเขาก็จะชัดขึ้น ๆ แต่ถ้าเลยวัยแล้วไม่เป็นไร... ใช้ได้นะ ไม่ใช่ ว่าเลยวัยแล้วสติไม่ไว ถึงแม้จะวัยไหนแต่สติเราก็ยังไวได้เสมอ การสังเกตต้นจิตตรงนี้จะทาให้สมองเรา ทางานหลากหลายขึ้น
เราคงจะเคยไดย้ นิ วา่ วธิ กี ารแกอ้ ลั ไซเมอรต์ อ้ งฝกึ ใหส้ มองทา งานหลากหลาย ไมใ่ ชเ่ รอื่ งเดมิ ๆ ซา้ ๆ ซ้า ๆ เดี๋ยวเขาก็เฉื่อยลง แต่วิถีจิตของเรามันจะไวมาก เดี๋ยวเรื่องโน้นเรื่องนี้ เดี๋ยวขยับ เดี๋ยวกระพริบตา เดี๋ยวอ้าปาก เดี๋ยวยกแขน เดี๋ยวยกมือ เดี๋ยวขยับตัว... รู้สึกไปเรื่อย ๆ เรื่อย ๆ แบบนี้ จิตจะตื่นตัว พอ จติ ตนื่ ตวั มสี ตริ ไู้ ปกบั อริ ยิ าบถยอ่ ยอยา่ งตอ่ เนอื่ งกก็ ลายเปน็ คนสตดิ ี ตรงนแี้ หละเขาเรยี กวา่ มสี ตไิ ปในกาย


































































































   34   35   36   37   38