Page 37 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเล่าสภาวะ
P. 37
789
กายจะขยับจะเคลื่อนไหว จะหันซ้ายหันขวา จะเหยียดจะคู้ จะหยิบจะจับ ก็มีสติตามกาหนดรู้คอยกากับ อาการของกายอยู่เสมอ ไม่ใช่แค่มีสติสารวจร่างกายขึ้นลง ข้างในตับไตไส้พุง... วนไปวนมา แต่มีสติรู้ไปใน กายในอิริยาบถย่อยของเรา ตรงนี้คือการกาหนด
เวลาเล่าอิริยาบถย่อยตรงนี้ ถามว่า ต้องเล่าทุก ๆ อาการเลยไหม ? ไม่มีใครกาหนดได้ทุกอาการใน วันเดียวหรอก มันจะมีเด่นอยู่สักอย่างสองอย่าง อย่างเช่น วันนี้กําหนดอิริยําบถย่อย ขณะที่ตักอําหํารเข้ํา ปําก สังเกตอํากํารตัก พอตักขึ้นมํา มีกํารกระทบปึ๊บหํายไป พอตักขึ้นมํา รู้สึก วื้ด...เบําขึ้นมํา จํางหํายไป พอเข้ําปําก รู้สึกว่ําเคี้ยวอําหํารอยู่ในที่ว่ําง ๆ กระทบ ๆ ๆ แล้วก็กลืนหํายไป ถามว่า กลืนลงไปที่ไหน ? มันเข้ําไปที่ลําคอ ถึงกระเพําะ แล้วก็ไหลไปตํามลําไส้... เห็นขนาดนั้นเลยเหรอ!? ไม่เห็นหรอก เห็นใน อนําโตมี่ (anatomy;กายวิภาคศาสตร์) เขําเขียนภําพเอําไว้ว่ํามันเป็นอย่ํางนั้น อันนั้นเขาเรียกว่า “มโน” แล้ว ใช่ไหม ?
จริง ๆ แล้วคือ พอข้าวเข้าไป กลืนปุ๊บมันวื้ดลงไป รู้สึกสัมผัสถึงตรงไหนก็แค่นั้น นั่นคือสังเกต ลักษณะอาการ รู้สึกวื้ดเข้าไปในที่ว่าง ๆ แล้วก็พิจารณา พอเคี้ยวครั้งต่อไป อาการเคี้ยวกระทบปึ๊บ กระทบ...เงียบ กระทบ...เงียบ กระทบ...เงียบ รสชาติหายไป เหลือแต่อาการเคี้ยวที่มันกระทบปั๊บ ๆ ๆ อยู่ในที่ว่าง ๆ พอสติมีกาลังมากขึ้น กระทบแล้วกระจาย ๆ ๆ ไม่ใช่น้าลายหรืออาหารกระจายนะ คือ “จุดกระทบ” มันดับแบบกระจาย ๆ ใสวับ ๆ ๆ ขึ้นมา ไม่ใช่แบบ “เอ้า! พิจารณาอาหาร มีสติกาหนดรู้อยู่ กับอาการเคี้ยว รู้รสชาติ เราพิจารณาอาหารเพื่อไม่ให้เป็นไปเพื่อกิเลส ไม่ให้เป็นไปเพื่อความเพลิดเพลิน สนุกสนาน เกิดกาลังทางกาย...”
แต่เราพิจารณา “อาการเกิดดับ” ของการเคี้ยว เป็นการพิจารณาอาการพระไตรลักษณ์โดยตรง เปน็ การพจิ ารณาอาการเกดิ ดบั ของอาการขยบั เคลอื่ นไหว ตรงนแี้ หละพอพจิ ารณาอาการกระทบเกดิ ดบั แบบ นี้ กลายเป็นไม่เกี่ยวกับกิเลส ไม่เกี่ยวกับความชอบ/ไม่ขอบ ไม่เกี่ยวกับความอยากแล้ว ถ้าเห็นอาการเกิด ดับแบบนี้ รสชาติของอาหารจะเปลี่ยนไป เราก็ต้องทาใจ พอเคี้ยวแล้วรสชาติอาหารไม่อร่อยเลย เห็นแต่ อาการเคี้ยวเฉย ๆ เราก็ต้องเข้าใจ เราจะได้ไม่ติดในรสชาติไง นี่คืออย่างหนึ่ง แล้วที่บอกพิจารณารสชาติ อาหาร พิจารณาเปรี้ยว หวาน มัน เค็ม อร่อย ไม่อร่อย อร่อย...เบิกบาน ไม่อร่อย...หุบลง (พิจารณา)เพื่อ ไม่ให้ติดในรสชาติแล้วทาไมต้องหุบด้วย ? เราไม่ติดในรสชาติ เราก็ดูเกิดดับ
วันก่อนโยคีเขาเล่า มันเผ็ดนะ เผ็ด ๆ แล้วจํางหําย หวําน ๆ แล้วก็หํายไป เปรี้ยว...เหมือนมันซ้อน กัน มันไม่ได้มําพร้อมกัน มันเข้ํามําทีละนิด ทีละนิด... เขาบอกอะไร ? เปรี้ยวมาปึ๊บ...เปรี้ยวหายไป หวาน มา ...หวานหายไป เค็มนิดหนึ่ง...แล้วก็หายไป ตรงนี้วิถีจิตเรา การทางานรู้แต่ละอารมณ์ แต่พอถอยออก มา พอไมม่ งุ่ ปบุ๊ เปรยี้ ว-หวาน-มนั -เคม็ ...รวมกนั อรอ่ ยมากเลย คอื พอไปรกู้ ารเกดิ ดบั เปน็ ขณะ ๆ กลบั รสู้ กึ ว่าความอร่อยก็ต่างไป นี่คือกาหนดอาการเกิดดับของรส ไม่ติดในรส แต่ไม่ใช่ไม่รู้รสนะ บางทีบอกว่า ทําน อําหํารแบบไมร่ รู้ สเลย เหมอื นลนิ้ จระเข้ นกี่ อ็ กี อยา่ งหนงึ่ แตก่ ารทสี่ มั ผสั ถงึ ลกั ษณะอาการเกดิ ดบั กลายเปน็ ว่าทาให้เรากลายเป็นคนละเอียด สติเรามีความละเอียดคือแก่กล้าขึ้น ทันอาการมากขึ้น