Page 263 - การให้รหัสโรค
P. 263
252
2.4 เหตุหนุน……………Old CVA…….………….
2.5 โรคหรือภาวะในมรณบัตร (ภาษาไทย) ….ปอดอักเสบ……
ตัวอย่าง ตัวอย่างนี้เป็นกรณีที่พบบ่อยในการสรุปสาเหตุการตาย
2.3 โรคที่เป็นสาเหตุการตาย ระยะเวลา
a) Sepsis …….(due to) ….2 วัน
b) Ventilator associated pneumonia….(due to) ….2 เดือน
c) Infected bedsore…….(due to) ….2 ปี
d) ……………………………… ….
2.4 เหตุหนุน……………End stage renal disease…….………….
2.5 โรคหรือภาวะในมรณบัตร (ภาษาไทย) ….ติดเชื้อในกระแสเลือด……
เป็นกรณีที่พบบ่อยของการสรุปสาเหตุการตายในโรงพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรังที่นอนติดเตียง นอน
โรงพยาบาลนาน จะมีโรคแทรกซ้อนตามมาจนเสียชีวิต แพทย์ส่วนใหญ่สรุปสาเหตุการตายเป็น
Pneumonia หรือ Septicemia ซึ่งไม่ถูกต้องในรายนี้มีไตวายเรื้อรังต้องฟอกเลือดประจําไม่คอยมีการ
่
เคลื่อนไหว ทําให้มีโรคแทรกซ้อนตามมาตามดับ ดังนี้ ESRD-> Immobility-Pneumonia-> Sepsis
ดังนั้นสาเหตุตายควรเป็นไตวายเรื้อรัง
คําแนะนําเมื่อการตายเกิดขึ้นจากการผาตัดและหัตถการทางการแพทย์อื่นๆ
ก. เมื่อมีข้อมูลระบุถึงเหตุผลของการเข้ารับการผ่าตัดหรือหัตถการทางการแพทย์ให้ใช้เหตุผลของ
การเข้ารับการผ่าตัดหรือการทําหัตถการทางการแพทย์ เป็ นจุดตั้งต้นที่นําไปสู่การตาย
ข. เมื่อไม่มีข้อมูลระบุถึงเหตุผลของการเขารับการผาตัดหรือหัตถการทางการแพทย์
้
หากในหนังสือรับรองการตายมิได้ระบุถึงเหตุผลของการเข้ารับการผ่าตัดหรือทําหัตถการทางการ
แพทย์ แต่มีรายงานภาวะแทรกซ้อนจากบริการทางการแพทย์ดังกล่าว ให้ดําเนินการดังนี้
ื่
ั
− ก่อนอนตรวจสอบว่าบัญชีรหัสโรคลําดับตามตัวอกษรให้รหัสโรคไว้สําหรับเหตุผลของ
การเข้าผ่าตัดและหัตถการทางการแพทย์ ก็ใช้รหัสนี้เป็นจุดตั้งต้นการตาย
− หากไม่มีรหัสระบุไว้ในบัญชีรหัสโรคลําดับตามตัวอกษร สําหรับเหตุผลของการเข้าผ่าตัด
ั
และหัตถการทางการแพทย์ ให้ตรวจสอบว่าประเภทของการผ่าตัดหรือหัตถการทางการ
การแพทย์สามารถระบุว่าดําเนินการที่อวัยวะใดโดยเฉพาะ หากสามารถระบุอวัยวะได้
ให้ใช้รหัสผลต่อเนื่องต่ออวัยวะนั้น เป็นรหัสจุดตั้งต้นไปสู่การตาย
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ