Page 83 - เกณฑ์วิธีและแนวปฎิบัติตามคำสั่งการแพทย์
P. 83
ภาคผนวกที่ 3: การช@วยฟBCนคืนชีพขั้นสูง (Advanced Life Support)
การชQวยฟ]^นคืนชีพขั้นสูง
1. ประเมินผู5ปHวยตามการช7วยฟãåนคืนชีพขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support) ตาม ภาคผนวก 2: การชQวย
ฟ]^นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support)
2. การช7วยหายใจ
2.1. หากผู5ปHวยยังไม7ได5รับการใส7ท7อช7วยหายใจ ให5ทำการช7วยหายใจ ด5วยอัตราการกดหน5าอก 30
ครั้งต7อการช7วยหายใจ 2 ครั้ง
2.2. หากผู5ปHวยได5รับการใส7ท7อช7วยหายใจแล5ว ให5ช7วยหายใจด5วยอัตราเร็ว 10 ครั้งต7อนาท ี
3. การใช5อุปกรณ\และการให5ยา
3.1. กรณีใช5เครื่อง defibrillation หาก EKG เปLนกลุ7ม shockable rhythm: VF/pVT ให5ทำการ
defibrillation ทันทีด5วยพลังงาน 120-200 J
3.2. หาก EKG เปLนกลุ7ม non shockable rhythm: PEA/Asystole ให5ทำการกดหน5าอกต7อ
3.3. กรณีใช5เครื่อง AED ให5ทำตามคำแนะนำของเครื่อง
3.4. ให5ยา Epinephrine (1:1000) 1 mg IV ทุก 3-5 นาที พรอมให5 NSS ตามทุกครั้ง
5
3.5. ประเมินชีพจรและคลื่นไฟฟzาหัวใจทุก 2 นาที หากยังไม7มีชีพจร ให5ทำการกดหน5าอกต7อ
3.6. ให5ยา Amiodarone 300 mg และ 150 mg IV push หรือ Lidocaine 1-1.5 mg/kg และ 0.5-
0.75 mg/kg ในขนาดยาครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ของการทำ defibrillation ครั้งที่ 3 และ 5
ตามลำดับ
4. หาสาเหตุในการเกิด cardiac arrest และให5การรักษา 6Hs6Ts
4.1. 6Hs ได5แก7 hypovolemia, hypoxia, hydrogen ion (acidosis), hypo/hyperkalemia,
hypothermia, hypoglycemia
4.2. 6Ts ได5แก7 tension pneumothorax, cardiac tamponade, coronary thrombosis,
pulmonary thrombosis, toxin, trauma
68 แนวปฏิบัติสำหรับหน.วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย7 เขตสุขภาพที่ 2 พ.ศ. 2565
OFFLINE EMS MEDICAL PROTOCOLS OF PUBLIC HEALTH REGION 2