Page 29 - EBOOK-semifinal_Neat
P. 29

การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งแกร่งอาจแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ


                 1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ คือทุกส่วนเลื่อนไปในทางเดียวกัน เช่น การผลัก
                 ไม้บรรทัดแล้วไม้บรรทัดเลื่อนไปข้างหน้าทิศเดียวกัน
                 2. การเคลื่อนที่แบบหมุน คือมีส่วนเป็นแกนหมุนและส่วนอื่นๆเคลื่อนที่หมุน
                 รอบแกน เช่น การเคลื่อนที่ของพัดลม แต่วัตถุบ้างที่ก็เคลื่อนที่แบบหมุนและเลื่อนที่
                 ไปพร้อมๆกัน เช่น การเคลื่อนที่ของลูกบอล



              เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่เป็นหลักอาจแบ่งสมดุลของวัตถุได้ 3 ชนิด



              1. สมดุลต่อการเลื่อนที่ (Translational  Equilibrium ) คือ วัตถุอยู่นิ่งหรือ
              เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว  โดยไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตามกฎข้อที่ 1 ของนิว
              ตัน จะมีค่าแรงลัพธ์หรือผลรวมของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุทั้งหมดเป็นศูนย์ หรือเขียน
              ได้ว่า  SF = 0
              2. สมดุลต่อการหมุน  ( Rotational  Equilibrium )  คือสมดุลที่เกิดขึ้นในขณะ
              ที่วัตถุมีอัตราการหมุนคงตัว และไม่เปลี่ยนสภาพการหมุน
              3. สมดุลสัมบูรณ์ของวัตถุ  คือสภาพที่วัตถุนั้นเกิดสมดุลต่อการเลื่อนที่ (อยู่นิ่งหรือ
              เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่)และ สมดุลต่อการหมุน(ไม่หมุน) ไปพร้อมๆกัน แรงต่างๆ ที่
              กระทำต่อวัตถุเป็นไปตามเงื่อนไข 2 ประการ
              คือ
              1. แรงลัพธ์เป็นศูนย์ หรือผลรวมของแรงทุกแรงที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์
              2. ผลรวมของโมเมนต์ของแรงทุกแรงที่กระทำต่อวัตถุเป็นศูนย์  ( å M = 0 )











                https://sites.google.com/site/physicm41/home/smdul-tx-kar-kheluxnthi












                               https://sites.google.com/site/physicm41/home/smdul-tx-kar-kheluxnthi




                                                                น.ส.พิมพ์นารา อดุลจันทรศร ม.6/3 เลขที่ 15

                                                            29
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34