Page 30 - SRT6/2561
P. 30
“พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งเสด็จมณฑลพายัพ ทรงมี
พระราชด�ารัสถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าทรงมีพระราชด�าริ
ว่าจะเสด็จพระราชด�าเนินมาประทับที่เชียงใหม่อย่างราชธานีฝ่ายเหนือเมื่อทางรถไฟ
จากกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่แล้วเสร็จ แต่กว่าทางรถไฟสายเหนือจะใช้งานได้ก็ล่วง
แต่ต่อมาเมื่อล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ประกาศพระราชสงครามกับเยอรมัน จึงต้องให้ “ นี่แสดงให้เห็นว่า ทรงเป็นนักพัฒนาที่ดิน
เข้ามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เดิมใช้นายช่างเยอรมัน
นายช่างชาติศัตรูออกจากราชการ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จในกรม แต่ท่านกลับไม่ยินดีจะหาซื้อที่ดินสักผืนในหัวหินเลย
ผมเข้าใจว่าท่านเกลียดการเอาเปรียบคนอื่น
พระก�าแพงฯ มาสานงานที่ส�าคัญต่อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการขุดถ�้าขุนตานซึ่งก็ท�าได้ ไม่ว่าสร้างทางรถไฟไปกี่ร้อยกิโลเมตร ไม่มีที่ดิน
จนส�าเร็จ ท�าให้แผ่นดินของล้านนา กับแผ่นดินของกรุงเทพ ทางด้านของกายภาพและ ของท่านเลยสักหนึ่งตารางนิ้ว ท่านทรงกันที่ไว้
จิตวิทยารวมเป็นแผ่นดินเดียวกัน นี่จึงเป็นงานที่ยิ่งใหญ่มาก" ให้กับการรถไฟทั้งหมด แม้แต่ตลาดฉัตรไชยก็เป็น
“นอกจากนี้ พระองค์ทรงเป็นบุคคลที่มีรสนิยมดีมาก จึงทรงน�ามาใช้กับ ของเทศบาล ไม่ใช่ของราชสกุลฉัตรชัย นี่คือความ
การรถไฟฯ ท�าให้การรถไฟฯ ในสมัยนั้นได้ชื่อว่าเป็น The best of Asia มีบันทึกของ ประทับใจว่า สิ่งที่ท่านทิ้งไว้ให้ลูกหลานอาจไม่ใช่
ฝรั่งว่า รถไฟไทยเป็นรถไฟที่ดีที่สุด มีเขียนถึงกระทั่งว่า อังกฤษที่ท�ารถไฟในมลายู ทรัพย์สินเงินทอง แต่ท่านทิ้งความซื่อสัตย์ให้เรา
ควรมาดูงานรถไฟไทย เพราะทั้งการเดินทางสะดวกสบาย การกินอยู่หลับนอน สามารถเงยหน้าได้ไม่อายใคร นี่คือสิ่งที่เป็นความ
บนรถไฟก็สะดวกมาก” ประทับใจของลูกหลาน เพราะเราก็รู้ว่าต้นตระกูลเรา
และด้วยพระวิสัยทัศน์อันยาวไกลของ พลเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ไม่เคยโกงแผ่นดิน มีแต่ความซื่อสัตย์ จงรักภักดี
กรมพระก�าแพงเพ็ชรอัครโยธิน เมื่อทรงท�างานวางรากฐานระบบรถไฟให้มั่นคงแล้ว ท�าทุกอย่างเพื่อพระเจ้าแผ่นดินและแผ่นดิน นั่นคือ
ยังทรงต่อยอดไปถึงงานพัฒนาพื้นที่และการท่องเที่ยวให้กับพื้นที่ที่มีเส้นทางรถไฟ ความภาคภูมิใจว่าต้นตระกูลของเราเป็นคนดี ”
ผ่านไปถึง โดยเฉพาะหัวหิน สถานตากอากาศแห่งแรกของไทย ที่นับจนถึงทุกวันนี้
ก็ยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมของทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ
“ถ้ามองย้อนกลับไปจะมองเห็นว่า พระเจ้าแผ่นดินของเราเริ่มเสด็จ
พระราชด�าเนินออกนอกอาณาเขตกรุงเทพฯ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ทรงไปประทับ
ที่เขาวัง จ. เพชรบุรี รัชกาลที่ 5 ทรงสร้างพระราชวังบ้านปืนที่ จ. เพชรบุรี
สมัยรัชกาลที่ 6 เสด็จไปถึงหาดเจ้าส�าราญ และเขยิบออกไปไกลถึงชะอ�าที่เกือบถึง
หัวหินแล้วคือพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน หากนับไปแล้วนี่เป็นเส้นทางยุทธศาสตร์
หนึ่งทางรถไฟ ซึ่งพระราชด�าริของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 คือ
ตัดทางรถไฟจากกรุงเทพฯ ไปถึงมลายูให้ได้ เมื่อผ่านมาถึงหัวหิน
ทรงสังเกตว่า หัวหินมีศักยภาพ มีหาดทรายสวยและกว้างเหมือน
หาดเมืองนอก น่าจะท�าเป็นเมืองตากอากาศได้ จึงทรงสร้างโรงแรม
รถไฟ สร้างถนนจากสถานีรถไฟไปถึงหาด สร้างสนามกอล์ฟส�าหรับ
ให้เกิดเป็นสันทนาการ และยังทรงมองว่า เมื่อคนไปหัวหินมากขึ้น
สิ่งที่ตามมาคือเรื่องของอาหารการกินและระบบสุขาภิบาล ก็ทรง
สร้างตลาดขึ้นมา ภายหลังได้ชื่อว่าตลาดฉัตรไชย ท่านสร้างตลาดนี้
เพื่อให้เป็นตลาดที่ถูกสุขอนามัยไม่ใช่เป็นตลาดส่วนพระองค์ ตลาด
ฉัตรไชยนี้ ถ้าสังเกตจะเห็นว่าซุ้มโค้งด้านหน้าตลาดประกอบด้วย
ซุ้มโค้งจ�านวน 7 ซุ้ม สื่อว่าสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 7”
30
วารสารรถไฟสัมพันธ์