Page 63 - หนังสือมรดกภูมิปัญญา
P. 63
มรดกทางวัฒนธรรมดา้นผลิตภัณฑ์ของจังหวดักาฬสินธุ์
กระทรวงวัฒนธรรม จัดสรรงบประมาณให้จังหวัดกาฬสินธุ์ได้จัดกิจกรรมพัฒนาต่อยอด ผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยดาเนินการต่อยอด ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม ปรับให้เข้าการเส้นทางการท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ ให้ตรงกับ ความต้องการของตลาด โดยเน้นเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ รังสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมที่ เพิ่มมูลค่าสินค้า ในเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ให้กับชุมชน และผู้ประกอบการเครือข่ายวัฒนธรรม ทั้งยังสร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้ประชาชนนาไปสู่การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ โดยชุมชน จะดาเนินการออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ผลิตสินค้าที่มีความแตกต่างที่ไม่ เหมือนใคร โดยเน้นกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ต้องการมองหาผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ รวมถึง รูปแบบ ผลิตภัณฑ์สามารถดึงดูดให้ผู้บริโภคตัดสินใจเลือกซื้อได้อย่างง่ายดาย
นอกเหนือจากประโยชน์ที่ได้จากการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์แล้ว ยังถือเป็นการยกระดับ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ โดยมุ่งหวังให้ชาวบ้านในชุมชน ช่วยกันสร้างให้เกิดมาตรฐานสาหรับ ผลิตภัณฑ์ในชุมชนของตนเอง ให้เป็นที่ยอมรับของนักท่องเที่ยว เพื่อก่อให้เกิดการสร้างกระแส นิยมการใช้สินค้าไทย ถือว่าเป็นการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ควบคู่กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน เป็นการช่วยบรรเทาปัญหา ความยากจน ก่อให้เกิดความเข้มแข็ง และส่งเสริมการพัฒนาชนบทในระดับรากหญ้าอย่างยั่งยืน โดยสานักงานวัฒนธรรมจังหวัด กาฬสินธุ์ได้ร่วมกับผู้ประกอบการในเส้นทางท่องเที่ยวยุคก่อนประวัติศาสตร์ ร่วมพัฒนาสินค้า ทั้งสิ้น จานวน ๕ รายการ
ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาต่อยอดจากทุนทางวัฒนธรรมจังหวัดจังหวัดกาฬสินธุ์
๕๖