Page 179 - เนื้อหาต้นฉบับส่งเอเชียพิมพ์ตัวอย่าง-แก้
P. 179
- ๑๗๙ -
ี
เล่ม ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๔๙ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๘ มนาคม ๒๕๕๗
๑๙
ข้อ ๒ กาลังส่ง
ํ
กาลังส่งออกอากาศสมมลแบบไอโซทรอปก (Equivalent Isotropically Radiated
ิ
ู
ํ
ิ
่
ิ
ิ
ั
Power : e.i.r.p.) ไมเกน ๑๐ วัตต์ เว้นแต่คณะกรรมการกจการกระจายเสียง กจการโทรทศน์
ํ
ุ
ื่
และกจการโทรคมนาคมแหงชาติ เห็นควรกาหนดเป็นอยางอื่น แล้วแต่กรณี และเปนเครองวิทยคมนาคม
่
ิ
็
่
้
่
ื่
ื่
ี
ุ
ั
ที่มสายอากาศภายในตัวเครอง (Integral antenna) ที่ติดตั้งมาพรอมกบเครองวิทยคมนาคม และไมม ี
ขั้วต่อสายอากาศสําหรบใช้สายอากาศภายนอก
ั
ข้อ ๓ ใบอนญาตวิทยคมนาคม
ุ
ุ
ุ
้
่
ได้รับยกเว้นไมต้องไดรับใบอนุญาตม ใช้ นําออกซึ่งเครื่องวิทยคมนาคม และใบอนุญาต
ี
ุ
ตั้งสถานีวิทยคมนาคม แต่ไม่ได้รับยกเว้นใบอนุญาตทํา นําเข้า และค้าซึ่งเครื่องวิทยุคมนาคม
ข้อ ๔ มาตรฐานทางเทคนิค
เครองวิทยุคมนาคมสื่อสารระยะสั้น (Short Range Devices) ย่านความถี่วิทย
ื่
ุ
๕๗ - ๖๖ GHz ในลักษณะ Wireless Local Area Network (WLAN) หรอ Wireless Personal
ื
Area Network (WPAN) จะต้องผ่านการตรวจสอบและรบรองมาตรฐาน ตามประกาศคณะกรรมการ
ั
ิ
ื่
กจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรอง การตรวจสอบและรบรองมาตรฐานของเครองโทรคมนาคมและอุปกรณ์
ั
ื่
ุ้
ข้อ ๕ สิทธิการคมครอง
ื่
เครองวิทยุคมนาคมสื่อสารระยะสั้น (Short Range Devices) ย่านความถี่วิทย
ุ
๕๗ - ๖๖ GHz ในลักษณะ Wireless Local Area Network (WLAN) หรอ Wireless Personal
ื
ิ
ุ
Area Network (WPAN) ไมได้รับสิทธิคมครองการรบกวน หากกอให้เกดการรบกวนระดับรนแรงต่อการใช้
่
่
ุ้
ั
ิ
ุ
คลื่นความถของข่ายสื่อสารวิทยคมนาคมอื่นในบรเวณใดบรเวณหนึ่ง ผู้ใช้ต้องระงบการใช้เครองวิทยคมนาคม
ิ
ุ
ี่
ื่
ิ
ั้
ดังกล่าว ที่ก่อให้เกดการรบกวนในบรเวณนนทันที
ิ
ั
ั
ข้อ ๖ ประกาศนี้ให้ใช้บังคบตั้งแต่วันถัดจากวนประกาศในราชกจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ิ
ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ กมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗
ุ
พลอากาศเอก ธเรศ ปุณศรี
ประธานกรรมการกิจการกระจายเสียง
ิ
กจการโทรทัศน์ และกจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
ิ