Page 190 - เนื้อหาต้นฉบับส่งเอเชียพิมพ์ตัวอย่าง-แก้
P. 190
- ๑๙๐ -
ภาคผนวก ค
แนวทางการคํานวณเพื่อวิเคราะห์การรบกวน
์
ั
ิ
ํ
ื่
ึ้
็
ื้
ุ
้
ั
แนวทางการคานวณเพอวเคราะหการรบกวนนี้จดทําขนเพื่อใหผู้ขอรบอนญาตใช้เปนแนวทางเบองต้น
อยางงาย (simplified) ในการคานวณวเคราะหทางเทคนคเพอหลีกเลี่ยงการรบกวนที่รุนแรง (Harmful
ิ
่
ํ
ื่
่
์
ิ
Interference) กับข่ายอื่นทได้รับการยนคําขอจดทะเบยนกอน
ี่
่
ี
ื่
เงื่อนไขการป้องกันการรบกวน (Interference Protection Criteria) สําหรับเครื่องรับใดๆ อัตราสวน
่
ของสัญญาณที่ต้องการต่อสญญาณรบกวน (Carrier-to-interference: C/I) จะต้องมีค่าไม่น้อยกวาอัตราสวนของ
่
ั
่
ั
ขดต่ําสุดของสัญญาณทรับได้ต่อสัญญาณรบกวน (Threshold-to-interference: T/I) โดยเขียนเป็นความสมพนธ์
ี่
ั
ี
ได้ดังน ี้
C/I ≤ T/I
แบบจาลองการแพร่กระจายคลื่น (Propagation Model) ในการคานวณสัญญาณรบกวนที่รับได้ การ
ํ
ํ
ลดทอนสัญญาณตามระยะทาง (Path loss) ประกอบด้วย การลดทอนในทีว่าง (Free space loss) และการ
่
ลดทอนโดยบรรยากาศ (Atmospheric attenuation) ตามสมการแบบจาลองการแพรกระจายคลื่น
่
ํ
(Propagation Model) ในภาวะอากาศแจ่มใส (clear-air) ดังน ี้
92.45 20 log 20 log 0.4
โดย:
L = Path loss (dB)
d = distance (km)
f = frequency (GHz)
ขั้นตอนการวิเคราะห์การรบกวน ให้เป็นไปตามที่สํานกงานกําหนด
ั
ิ
้
ื่
เอกสารอางองสําหรับแนวทางการคํานวณเพอวิเคราะห์การรบกวน
1. Wireless Communications Association International, Path Coordination Guide for the
71-76 and 81-86 GHz Millimeter Wave Bands
2. Australian Communications and Media Authority, Planning of the 71-76 GHz and 81-
86 GHz Bands for Millimetre Wave High Capacity Fixed Link Technology