Page 390 - เนื้อหาต้นฉบับส่งเอเชียพิมพ์ตัวอย่าง-แก้
P. 390
- ๓๘๓ -
ั
เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๒๒๐ ง ราชกิจจานุเบกษา ๖ กนยายน ๒๕๖๐
่
ข้อ ๑๐ เงอนไขการใช้คลื่นความถี่ร่วมระหวางหนวยงานตามภารกจปองกนและบรรเทาสาธารณภัย
ื่
ั
้
่
ิ
็
ู
เพื่อติดต่อสื่อสารแบบเสียงและข้อมลความเรวต่ํา มีดังนี้
๑๐.๑ สําหรบคลื่นความถี่ตาม ๘.๑ ๘.๒ และ ๘.๓ ให้เปนไปตาม ภาคผนวก ก.
็
ั
็
ี่
ั
๑๐.๒ สําหรบคลื่นความถตาม ๘.๔ ให้เปนไปตาม ภาคผนวก ข. และ ค.
่
๑๐.๓ สําหรับคลื่นความถี่ตามข้อ ๙ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่หนวยงาน
ที่ได้รับการจัดสรรคลื่นความถี่กําหนด
๑๐.๔ ผู้ใช้คลื่นความถตาม ๘.๑ ๘.๒ ๘.๓ และคลื่นความถ ๑๖๘.๒๗๕
ี่
ี่
เมกะเฮรตซ์ตาม ๘.๔ ไมต้องเสียคาตอบแทนการใช้คลื่นความถ ตามที่ประกาศกระทรวงเทคโนโลย ี
ิ
่
ี่
่
ื่
ี่
ํ
่
ี่
สารสนเทศและการสื่อสาร เรอง กาหนดให้ผู้ใช้ความถวิทยุต้องเสียคาตอบแทนในการใช้ความถวิทยุ
เว้นแต่ กสทช. จะประกาศกําหนดเป็นอย่างอื่น
ุ
ุ
ี่
๑๐.๕ ผู้ใช้คลื่นความถี่ต้องได้รับใบอนญาตวิทยคมนาคมที่เกยวข้อง
ุ
ื่
๑๐.๖ เครองวิทยคมนาคมที่ใช้งานตามขอ ๘ และข้อ ๙ ต้องมมาตรฐานทางเทคนิค
ี
้
และต้องผ่านการตรวจสอบรับรองมาตรฐานตามท กสทช. กําหนด
ี่
หมวด ๓
การใช้คลื่นความถี่สําหรับภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ั
ิ
และในกรณีที่เกดเหตุฉุกเฉินและภยพิบัติเพื่อติดต่อสื่อสารด้วยเสียงและข้อมูลความเร็วสูง
ี่
ข้อ ๑๑ อนุญาตให้กลุ่มผู้ใช้คลื่นความถตามข้อ ๖ ใช้คลื่นความถี่ในลักษณะใช้งาน
ิ
ี่
ี
คลื่นความถร่วมกน (shared use) ระหวางหนวยงานที่มภารกจเกยวข้องกบการปองกนและบรรเทาสาธารณภย
้
ั
ั
ั
ั
ี่
่
่
ิ
ิ
และในกรณีที่เกดเหตุฉุกเฉินและภยพิบัติ มได้เปนการจัดสรรคลื่นความถี่ให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง
ั
็
ซึ่งมีสิทธิในการใช้คลื่นความถเป็นการเฉพาะ ประกอบด้วยคลื่นความถ ดังนี้
ี่
ี่
ิ
๑๑.๑ คลื่นความถี่ ในช่วง ๘๑๔-๘๑๙/๘๕๙-๘๖๔ เมกะเฮรตซ์ (๒x๕ เมกะเฮรตซ์)
ิ
ในลักษณะเป็นค (FDD)
ู่
ี่
๑๑.๒ คลื่นความถอื่นซึ่ง กสทช. อาจกําหนดเพิ่มเติม โดยคํานึงถึงข้อมติ ๖๔๖
(Rev.WRC-15) ของที่ประชุมใหญ่ระดับโลกว่าด้วยวิทยุคมนาคม (ในย่าน ๔๐๐ เมกะเฮิรตซ์ และ
๔.๙ กกะเฮรตซ์)
ิ
ิ
ิ
้
ข้อ ๑๒ อนุญาตใหผู้ขอใช้คลื่นความถเพื่อการประกอบกจการโทรคมนาคมเพื่อให้บรการ
ี่
ิ
็
ิ
หน่วยงานที่มภารกจปองกนและบรรเทาสาธารณภย และในกรณีที่เกดเหตุฉุกเฉินและภยพิบัติเปนการเฉพาะ
้
ั
ั
ิ
ี
ั
ประกอบด้วยคลื่นความถ ดังนี้
ี่
๑๒.๑ คลื่นความถี่ ในช่วง ๘๑๙-๘๒๔/๘๖๔-๘๖๙ เมกะเฮรตซ์ (๒x๕ เมกะเฮรตซ์)
ิ
ิ
ู่
ในลักษณะเป็นค (FDD)