Page 12 - technology
P. 12
การน าข้อมูลมาใช้แก้ปัญหา
การน าข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหาที่สนใจได้อย่างมีประสทธิภาพมีขั้นตอน
ิ
ดังนี้ จากรูป 4.1 พบว่าแต่ละขั้นตอนมีความสาคัญกับขั้นตอนในการล าดับก่อนหน้า
อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการ แก้ปัญหาหลายอย่างอาจย้อนกลับไปทบทวนขั้นตอนใน
ล าดับต่างๆ ที่อยู่ก่อนหน้าทั้งหมดได้เสมอ เพอ ปรับปรุงกระบวนการมีความสมบูรณ์
ื่
มากขึ้น จากนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดของแต่ละขั้นตอนตามล าดับ
1. การนิยามปัญหา
การนิยามปัญหา (problem definition) หมายถึงการตั้งค าถามที่สนใจและ
ต้องหาค าตอบ
่
ิ
้
ั
่
เมือเราต้องแกไขปญหาอย่างใดอย่างหนึง เราควรเร่มต้นจากการนิยาม
ปัญหาที่กระชับและชัดเจน
โดยระบุถึงผลลัพธ์ที่ต้องการจากกระบวนการแก้ปัญหาพร้อมรายละเอียด เงื่อนไข
หรือสถานที่เฉพาะที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างครบถ้วน ความชัดเจนของปัญหาเป็น
่
ั
ิ
จุดเร่มต้นทีสาคญของการแกปญหา
ั
้
ั
ี
ั
่
ตัวอย่างการนิยามปญหา เชน โรงเรยนมีขยะจ านวนมาก ล้นถงขยะ และมีการทิ้งขยะ
ไม่เป็นที่
2. วิเคราะห์ปัญหา
การวิเคราะห์ปัญหา (problem analysis) หมายถึงท าความเข้าใจ
ปัญหาเพอก าหนดสาระของปัญหาและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ื่
การวิเคราะห์ปัญหาเป็นกระบวนการที่เราจะท าความเข้าใจกับปัญหา
คนหาสาระสาคญของปญหา โดยพจารณาวาส่งใดเปนผลลัพธจากการแกปญหาและ
ั
ิ
็
้
์
่
้
ั
ิ
ั
ข้อมูลต่างๆ ที่จ าเป็นในการหาผลลัพธ์ โดยมีรายละเอียดด าเนินการที่เกี่ยวข้อง
3. การรวบรวมข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล (data collection) หมายถึงการได้มาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้อง
ครบถ้วน และจ าเป็นต่อการแก้ปัญหา
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับในหลักการจ านวนลักษณะและประเภทที่แตกต่างกัน การ
รวบรวมข้อมูลขึ้นอยู่กับผลการวิเคราะห์ปัญหาว่ามีข้อมูลใดบ้างที่เกี่ยวข้องและต้อง
รวบรวม
8