Page 3 - คิดนอกกรอบฉบับที่ 18-เมษายน 2563.indd
P. 3

3                                                                  วารสาร คิดนอกกรอบ ฉบับที่ 18 เดือนเมษายน 2563


                            ผู้ได้รับรางวัลมีชัย วีระไวทยะ สนับสนุนโดยมูลนิธิตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

                            สาขาการพัฒนาสังคมชนบท ประจ�าปี 2562

                            นายแพทย์วรวิทย์ ตันติวัฒนทรัพย์ ผู้อ�านวยการ โรงพยาบาลอุ้มผาง จังหวัดตาก

                                                                                  ุ
                                                                                 ่
                                                                                                               ุ
                             �
                               ็
                                                                                       ื
                                                                                                        ุ
                                                                  ั
                                                                                                       ้
                                                              ิ
                                                                     ี
                                                                                                           ี
                                                                                                               ้
                                                                             ิ
                                    ึ
                           สาเรจการศกษาจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวทยาลยศรนครินทรวโรฒ รน 1 เมอปี 2534 และเลอกใชทนท่ รพ.อมผาง
                                                                                                   ื
                                                                                       ่
                             เป็นที่แรก เพราะได้ยินกิตติศัพท์ของความเงียบเหงา จึงคิดว่าถ้าครบ 1 ปี จะขอย้ายไปประจ�าที่โรงพยาบาลอื่น
                              แต่สุดท้ายคุณหมอก็ประจ�าที่โรงพยาบาลอุ้มผางมาเป็นเวลา 28 ปี
                               จนได้เป็นผู้อ�านวยการโรงพยาบาล
                                       นพ. วรวิทย์ ได้ปลูกฝังและให้แนวคิดในการทางานให้แก่
                                                                         �
                                       บุคคลากรของโรงพยาบาลท่มุ่งเน้นให้ความสาคัญกับการ
                                                            ี
                                                                        �
                                       เป็นมนุษย์ท่บางคร้งต้องอยู่เหนือกฏเกณฑ์ต่างๆ ด้วย
                                                ี
                                                      ั
     อาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก เป็นอาเภอท ี ่  ความยากลาบากของการเดินทาง ทีมแพทย์ท่น่ทุกคนจึง
      �
                               �
                                                                          ี
                                               �
                                                                         ี
     ใหญ่ท่สุดของประเทศไทย การเดินทางเข้า  พยายามเน้นการรักษาด้วยตนเอง และบ่อยคร้งท่ต้อง
         ี
                                                                              ี
                                                                            ั
                 �
      �
                          ี
     อาเภอค่อนข้างลาบาก พ้นท่ส่วนใหญ่ของ  ลงพ้นท่ทรกนดาร เพ่อเข้าไปทาการรักษาคนไข้ทไม่
                       ื
                                             ี
                                              ุ
                                          ื
                                                        ื
                                                                �
                                                                               ี
                                                                               ่
                                                 ั
     อ�าเภอนี้เป็นป่าดิบชื้นและยังคงไม่มีถนน
                                       สามารถเดินทางมาท่โรงพยาบาลได้ “ไม่ว่าจะคนไทย
                                                       ี
                                       ยากจนบนที่ราบสูง กะเหรี่ยง เมียนมาร์ เมื่อเจ็บไข้ได้
                                       ป่วย หากไม่มีใครรักษาก็ตาย เมื่อมาโรงพยาบาลไม่มี
                                       เงิน หมอก็ต้องรักษา”
                                                                                                         ื
                                       ตอนปี 2539 มีปัญหาอหิวาตกโรค คนไข้ชายขอบเสียชีวิตเยอะ เราจึงต้องจัดการเร่องส้วมให้ถูก
                                       สุขลักษณะก่อน เร่องเหล่าน้เป็นวิทยาศาสตร์ ทาไปแล้ว ผลก็จะ
                                                            ี
                                                     ื
                                                                           �
                                                                                   ี
                                                                              ี
                                                                            ื
                                       ออกมาทันที ผมและทีมเข้าไปรณรงค์ทาส้วมในพ้นท่กะเหร่ยงฝั่ง
                                                                    �
                                                                          ี
                                                               �
       “มีหลายเคสที่เราภาคภูมิใจและผม  ไทยและฝั่งเมียนมาร์ตรงข้ามอาเภออุ้มผาง ท่ได้รับผลกระทบ
      เป็นหมอเองก็มีความสุข บางเคสมันก็  จากอหิวาตกโรค เราก็ท�าส้วมและน�้าประปาภูเขา ซึ่งก็สามารถ
     รู้สึกเป็นสุขใจมากกว่านั้นบางเคสนี่มัน  ควบคุมได้ภายในสามสัปดาห์
    ประมาณสะใจเลย  มันสะใจที่เราท�าได้นะ   “ทุกวันนี้ชาวบ้านก็ยังคลอดลูกในป่าและมีปัญหาบาดทะยัก ผมมองว่า ชาวบ้านกะเหรี่ยง เมียนมาร์
    ชีวิตเรามีประโยชน์ ความรู้สึกว่าเราตัวเอง  ม้ง ท่น่นมีอะไรไม่เท่าคนอ่นเยอะ แล้วมันจะเป็นธรรมได้ยังไง ท่ผ่านมาการคลอดลูกบนดอยสูงจะม ี
                                                                                        ี
                                            ั
                                           ี
                                                           ื
    มีประโยชน์ ค่อยสะสมท�าให้เรารู้สึกว่าชีวิต  หมอต�าแยคอยช่วยเหลือ แต่หลายสิบปีที่แล้วพวกเขาไม่มีแม้กระทั่งมีดตัดสายสะดือ และไม่รู้จักการ
    เรามีประโยชน์ ชีวิตเราไม่เหลวไหล เราไม่  ทาความสะอาด ทาให้เด็กติดเช้อเยอะต้องมารักษาท่โรงพยาบาล ก็เลยคิดวิธีเข้าไปสอนหมอตาแยชาว
                                                              ื
                                                    �
                                        �
                                                                              ี
                                                                                                             �
       ได้อยู่ทิ้งไปวันๆ เราช่วยคนอื่นได้”
                                       กะเหรยงร้อยกว่าคนทาคลอด พร้อมท้งแจกกระเป๋าพยาบาล เราทามาหลายปีแล้ว ปัจจบนในเขต
                                                                                                             ั
                                                                                           �
                                                                                                            ุ
                                            ี
                                            ่
                                                                     ั
                                                        �
                                       อุ้มผางที่ผมดูแลไม่มีใครตายแบบนางนากแล้ว ไม่มีโรคบาดทะยัก”
                                 ...เพราะผมเป็นหมอ สิ่งที่ต้องค�านึงถึง คือ เรื่องมนุษยธรรมมากกว่าอย่างอื่น เป็นจรรยาบรรณและวิชาชีพ
                                                                                               ิ
                                 การแพทย์สาธารณสุข ทเราต้องช่วยเหลอไม่ว่าเขาเป็นเชอชาติไหน ในรัศมี 150 กโลเมตร โรงพยาบาลอ้มผาง
                                                                                                               ุ
                                                                            ้
                                                    ่
                                                                ื
                                                    ี
                                                                            ื
                                                                                            ึ
                                                                                                    �
                                                                                               ึ
                                 คือท่พ่งหน่งเดียวของชาวบ้านเกือบ 70,000 ชีวิตในยามเจ็บป่วย โดยเกือบคร่งหน่งของจานวนน้ เป็นคนไทย
                                     ี
                                      ึ
                                          ึ
                                                                                                          ี
                                 ตามกฎหมาย ในขณะที่มากกว่าครึ่งมีสถานะ เป็นบุคคลไร้รัฐ ไร้สัญชาติ ไม่มีตัวตนในทางกฎหมาย เส้นแบ่ง
                                         �
                                 ประเทศทาให้เร่องแบบน้เกิดข้น เพราะเส้นแบ่งประเทศมันมาทีหลัง คนพวกนี้เขาอยู่กันมาก่อน พอมีเส้นแบ่ง
                                             ื
                                                        ึ
                                                    ี
                                 ก็กลายเป็นคนไร้สัญชาติ...
                                 “สิ่งส�าคัญอีกอย่างหนึ่งคือ  ยา จากผลการศึกษาพบว่าคนไทยทั้งประเทศทิ้งยาเหลือใช้ปีหนึ่งหลายพัน
                                 ล้านบาท ทิ้งไปก็ไม่เกิดประโยชน์แก่ใคร ผมก็เลยประกาศขอรับบริจาคทรัพยากรส่วนนี้ไม่ต้องใช้เงิน เรา
                                 เอามาคัด มีถุงผ้าใส่ยาให้คนไข้กลับบ้าน แล้วให้น�ามาโรงพยาบาลด้วย เพื่อเช็คว่า กินยาถูกต้องไหม  ใน
                                 เดือนกันยายน 2562  มียาเหลือใช้ที่รับบริจาคเข้ามามูลค่ารวม 13 ล้านบาท หากยารายการมีมาก ก็จะ
                                 ส่งให้โรงพยาบาลอื่นๆ กว่า 28 แห่ง”
   1   2   3   4   5   6   7   8