Page 92 - รายงานการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
P. 92
รายงานประจ าปี 2562 (Annual Report) | 85
์
การช าระบัญชีสหกรณ/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
1. การด าเนินการช าระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ขั้นที่ 1 ปิดประกาศ/เผยแพร่ การเลิกและแจ้งชื่อผู้ช าระบัญช ี
ติดค ำสั่งเลิกหรือประกำศเลิกและค ำสั่งแต่งตั้งผู้ช ำระบัญชี ณ ที่ท ำกำรสหกรณ์ ที่ว่ำกำรอ ำเภอที่
สหกรณ์ตั้งอยู่ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ที่ดูและสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ขั้นที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและจัดท างบกการเงินตามมาตรา 80
ผู้ช ำระบัญชีจัดท ำหนังสือแจ้งสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร (คณะกรรมกำร/เจ้ำหน้ำที่สหกรณ์
ฯลฯ) และจัดท ำบันทึกกำรรับมอบทรัพย์สินไว้เป็นหลักฐำน ได้แก่ เงินสด เงินฝำกธนำคำร ทะเบียนลูกหนี้/
เจ้ำหนี้/หุ้น วัสดุอุปกรณ์ เอกสำรทำงกำรเงินและทำงบัญชี ฯลฯ
ขั้นที่ 3 ส่งงบดุลให้ผู้สอบบัญชีรับรองงบมาตรา 80
จัดท ำงบกำรเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน เมื่อได้รับมอบเอกสำรหลักฐำนทำงบัญชี รวมทั้งทรัพย์สิน
ต่ำง ๆ แล้ว ผู้ช ำระบัญชีด ำเนินกำรจัดท ำงบกำรเงิน ณ วันรับมอบทรัพย์สิน โดยใช้ข้อมูลจำกงบกำรเงินที่
ผู้สอบบัญชีให้ควำมเห็นปีล่ำสุด (ก่อนกำรเลิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร) เป็นข้อมูลกำรตั้งยอดบัญชี ส่งให้ผู้สอบ
บัญชีตรวจรับรองงบ เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจรับรองงบแล้ว ผู้ช ำระบัญชีเรียกประชุมใหญ่สมำชิก เพื่อเสนองบดุล
ให้ที่ประชุมใหญ่พิจำรณำอนุมัติงบกำรเงิน หำกไม่สำมำรถเรียกประชุมใหญ่ได้ ให้เสนองบกำรเงินต่อนำย
ทะเบียนสหกรณ์ ตำมมำตรำ 80 วรรคสำม และเตรียมเข้ำสู่ขั้นตอนกำรปฏิบัติกำรช ำระบัญชีต่อไป
ขั้นที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบดุลตามมาตรา 80
ขั้นที่ 5 เสนองบดุลตามมาตรา 80 ให้ที่ประชุมใหญ่/นายทะเบียนฯอนุมัติ
ผู้ช ำระบัญชีเสนองบดุลต่อที่ประชุมใหญ่เพื่ออนุมัติแล้วเสนองบดุลนั้นต่อนำยทะเบียนสหกรณ์ หำกไม่
สำมำรถประชุมใหญ่ได้ ที่ประชุมไม่ครบองค์ประชุม ให้เสนองบดุลต่อนำยทะเบียนสหกรณ์เพอนุมัติ
ื่
ขั้นที่ 6 ด าเนินการจัดการทรัพย์สินและหนี้สินให้เสร็จสิ้น
1. จัดกำรเกี่ยวกับทรัพย์สิน ดังนี้
ี่
- ติดตำมเร่งรัดหนี้สิน กรณีทมีลูกหนี้ค้ำงช ำระ
- จ ำหน่ำยทรัพย์สินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อรวบรวมเงินช ำระหนี้แก่เจ้ำหนี้ เมื่อ
จัดกำรช ำระหนี้สินแล้วมีทรัพย์สิน (เงินสด) เหลืออยู่ ให้ด ำเนินกำรจ่ำยคืนค่ำหุ้น/ปันผล ต่อไป
2. กำรจัดกำรเกี่ยวกับหนี้สิน (มำตรำ 83)
- จัดท ำหนังสือแจ้งไปยังเจ้ำหนี้ให้ยื่นค ำทวงหนี้
- ด ำเนินกำรช ำระหนี้แก่เจ้ำหน้ำที่ต่ำง ๆ ตำมล ำดับข้อผูกพน
ั
- ถ้ำขำยทรัพย์สิน ครบถ้วนแล้ว มีเงินไม่พอช ำระหนี้ให้ขอประนีประนอมกับเจ้ำหนี้
- กรณีติดต่อเจ้ำหนี้ไม่ได้หรือเจ้ำหนี้ไม่ยอมทวงถำมให้วำงเงินต่อรองนำยทะเบียนสหกรณ์
3. จัดกำรเกี่ยวกับทุน
ื
- จ่ำยคืนค่ำหุ้นสมำชิกตำมมูลค่ำหุ้นที่ถออยู่ กรณีเงินสดคงเหลือไม่พอช ำระหนี้ ได้เต็ม
จ ำนวน ท ำกำรเฉลี่ยค่ำหุ้นให้หุ้นละเท่ำ ๆ กันเพื่อจ่ำยให้สมำชิกได้ครบทุกรำย
- หลังจำกจ่ำยคืนค่ำหุ้นให้สมำชิกได้เต็มมูลค่ำ มีเงินเหลือก็จะจ่ำยปันผลสมำชิกและเงินเฉลี่ย
ี
ี
คืน(กรณีปีกอนเลิกมก ำไรแต่ยังไม่มกำรจัดสรร) หำกมีทรัพย์สินเหลืออยู่อีก ก็จะท ำกำรโอนบริจำคให้สหกรณ์
่
อื่นประเภทเดียวกันในพื้นที่ใกล้เคียง หรือสันนิบำตสหกรณ์ ตำมมติที่ประชุมใหญ่เห็นชอบ
- กรณีจ่ำยค่ำหุ้น/ปันผลให้สมำชิกได้ไม่ครบตำมจ ำนวนที่จัดสรรไว้ ก็จะน ำเงินวำงไว้ที่นำย
ทะเบียนสหกรณ์เพอให้สมำชิกติดต่อรับคืนได้ในภำยหลัง
ื่
ขั้นที่ 7 ส่งรายงานการช าระบัญชีและรายการย่อตามมาตรา 87 ให้ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรอง