Page 162 - สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
P. 162
๒) อาการของคนที่เป็นโรค
ประมาณ ๑-๓ วัน หลังจากได้รับเชื้อโรค จะมีอาการทางระบบหายใจ คือ เหน่ือย หอบ หายใจเร็ว มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ อ่อนเพลีย มีน้ามูก ไอ จาม เจ็บคอ บางครั้งมีตาแดง ผู้ท่ีมีอาการแทรกซ้อนรุนแรง จะมีอาการปอดบวมและระบบหายใจล้มเหลวถึงขั้นเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็ก และผู้สูงอายุ
๒.๔ แนวทางการป้องกันโรค
๑) ปรุงอาหารให้สุกก่อนรับประทาน โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อ หรือไข่ของสัตว์ปีก เช่น เป็ด ไก่
๒) ไม่สัมผัสสัตว์ปีกที่มีอาการป่วยหรือตาย
๓) ไม่ใช้มือเปล่าสัมผัสสัตว์ปีก หากมีความจาเป็นต้องสวมถุงมือ ใช้ผ้าปิดปากและปิดจมูก ล้างมือด้วยสบู่และน้าสะอาดทุกครั้ง
๔) สาหรับสัตว์ปีกที่ป่วยตาย ควรขุดหลุมฝังลึกอย่างน้อย ๑ เมตร ก่อนกลบดินใช้คลอรีนหรือปูนขาวโรยในหลุม จากนั้นกลบดินให้แน่น
๕) หากเคยสัมผัสสัตว์ปีก และมีอาการป่วย เช่น มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามร่างกาย อ่อนเพลีย เจ็บคอ ตาแดง ควรรีบ ไปพบแพทย์
๖) หากมีสัตว์ปีกตายจานวนมากผิดปกติต้องรีบแจ้งปศุสัตว์จังหวัด หรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัดให้ทราบ
๗) ดูแลสุขภาพร่างกายของตนเองให้แข็งแรงอยู่เสมอด้วยการ ออกกาลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อสร้างภูมิต้านทานโรคให้แก่ ร่างกาย
สัตวบาล (อ่านว่า สัด-ตะ-วะ-บาน) คือ ผู้ที่ทาหน้าที่ปรับปรุงพันธุ์สัตว์ คดิ สตู รอาหารสตั ว์ ดแู ลฟารม์ สตั วใ์ หถ้ กู สขุ ลกั ษณะ เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หส้ ตั วเ์ ปน็ โรค
160 สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๖