Page 164 - สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
P. 164
๓.๓ การติดต่อ
ยุงลายมักออกหากินเวลากลางวัน โดยจะไปกัดผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก
จากน้ันเช้ือไวรัสจะฟักตัวอยู่ในยุงประมาณ ๘-๑๒ วัน ซ่ึงเมื่อไปกัดคนอ่ืนก็จะปล่อย เชื้อไวรัสไปยังผู้ถูกกัด และเมื่อเข้าไปสู่ร่างกายของคนประมาณ ๕-๘ วัน ก็จะแสดง อาการของโรคออกมา
๓.๔ อาการของโรค
เริ่มจากมีไข้ขึ้นสูงติดต่อกัน ๓-๔ วัน หายใจหอบ บางรายมีจุดแดงหรือ
ผนื่ ขนึ้ ตามแขน ขา และลา ตวั หรอื มรี อยชา้ ตามผวิ หนงั เนอื่ งจากมเี ลอื ดออกใตผ้ วิ หนงั บางคนอาจอาเจยี นหรอื ถา่ ยอจุ จาระเปน็ สดี า เนอื่ งจากมเี ลอื ดออกในระบบทางเดนิ อาหาร สาหรับผู้ที่มีอาการรุนแรงอาจช็อกและเสียชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที
๓.๕ แนวทางการป้องกันโรค
๑) กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย เพื่อตัดวงจรโรคไข้เลือดออกโดยใช้
มาตรการ ๕ ป ดังนี้
๑. ปิด คือ ปิดฝาภาชนะที่มี น้าขังให้มิดชิด เช่น โอ่งน้า ถังหรือ บ่อซีเมนต์ในห้องน้า
ปิดฝาโอ่งน้าให้มิดชิด
เทน้าในจานรองกระถางต้นไม้อยู่เสมอ
๒. เปลี่ยน คือ เปลี่ยนน้าใน ภาชนะที่มีน้าขังอยู่เสมอเพื่อป้องกัน ยุงลายมาวางไข่ เช่น แจกันดอกไม้ และเทนา้ ในจานรองกระถางตน้ ไมอ้ ยเู่ สมอ
162 สุขศึกษาและพลศึกษา ป.๖