Page 63 - สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
P. 63
การทําความสะอาดตู้ปลา มีวิธีการ ดังนี้
๑. ควรเปลยี่ นนาํา้ ในตปู้ ลาสปั ดาหล์ ะ ๑ ครงั้ โดยเหลอื นาํา้ เกา่ ประมาณครงึ่ หนงึ่ เพื่อไม่ให้ปลาช็อกเมื่ออยู่ในนํา้าใหม่
๒. ควรทําาความสะอาดตู้ปลาหรือภาชนะเลี้ยงปลา หิน กรวด และระบบ กรองนํา้า รวมทั้งตกแต่งตู้ปลาใหม่ทุก ๆ ๓ เดือน
๓. ถา้ ภาชนะเลยี้ งปลาไมเ่ คยมปี ลาเปน็ โรคมากอ่ น ใหด้ ดู นาํา้ เกา่ ออกมาครงึ่ หนงึ่ ใช้ฟองนํา้าสะอาดขัดตู้จนทั่ว จากนั้นใส่นํา้าใหม่เข้าไป เพื่อให้ปลาปรับสภาพได้
๔. ถ้าภาชนะเล้ียงปลาเคยมีปลาเป็นโรคมาก่อน ควรแช่ภาชนะเลี้ยงปลาด้วย นาํา้ ดา่ งทบั ทมิ หรอื ฟอรม์ าลนิ เพอื่ ฆา่ เชอื้ โรคและพยาธแิ ลว้ ลา้ งใหส้ ะอาดกอ่ นนาํา มาใช้ อีกครั้ง
การป้องกันและรักษาโรค โรคที่พบมากในปลาหางนกยูง ได้แก่ โรคจุดขาว โรคจากตัวปลิงใส โรคจากหนอนสมอ และโรคจากแบคทีเรีย ซึ่งสามารถ สังเกตปลาที่เป็นโรคได้ง่าย ๆ จากอาการที่ปลาไม่ว่ายนํา้า ครีบและหางกร่อน ท้องบวมนํา้า เกล็ดพอง เมื่อพบปลาลักษณะเช่นนี้ ให้รีบแยกปลาที่ป่วยออกไปรักษา ทันทีด้วยการให้ยาปฏิชีวนะ จากนั้นล้างตู้ปลาให้สะอาดก่อนนําาปลาที่ไม่เป็นโรค ลงไปเลี้ยงต่อในนํา้าที่พักไว้ล่วงหน้า ๒-๓ วัน
การจัดการผลผลิต เมื่อเลี้ยงปลาหางนกยูงได้ ๔-๖ เดือน ปลาหางนกยูง จะโตจนสามารถผสมพันธุ์ได้ ในช่วงเวลานี้ควรเอาใจใส่ดูแลรักษาปลาเป็นพิเศษ และจัดการเพาะพันธุ์ปลาหางนกยูง เพื่อให้ได้ปลาหางนกยูงที่มีสีสันเพิ่มเติม จากที่เป็นอยู่ แล้วนําาไปจําาหน่ายเพื่อสร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัว
61