Page 62 - 14_การเขยนรายงานในหนาทตำรวจ_Neat
P. 62

๕๕


                                                       º··Õè ÷



                                   ¡ÒÃÃÒ§ҹ¡ÒÃÊ׺Êǹ ¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹-¨Ñº¡ØÁ



                 ËÅѡࡳ±·ÑèÇ仢ͧ¡ÒÃÊ׺Êǹ

                             “บันทึก” หมายถึง ขอความที่จดยอๆ ไวเพื่อชวยเตือนความทรงจํา หรือเพื่อเปนหลักฐาน

                             “การ” หมายถึง กิจ งาน ธุระ หนาที่
                             “สืบสวน” หมายถึง เสาะหา ทบทวนไปมา

                             “รายงาน” หมายถึง คําบอกเลาเรื่องราวที่ไดไปปฏิบัติมา ไปรู หรือไปเห็นมา
                             “สอบสวน” หมายถึง ไลเลียง หรือไตรตรองเพื่อเอาความผิดจริง
                             ¡ÒÃÊ׺Êǹ¤Çº¤Ù‹¡Ñº¡ÒÃÊͺÊǹàÊÁÍ

                             ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒(๑๐) “การสืบสวน” หมายถึง

                 การแสวงหาขอเท็จจริง และหลักฐานซึ่งเจาพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจไดปฏิบัติไปตามอํานาจ
                 และหนาที่เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนและเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแหงความผิด
                             คําวา “การสอบสวน”  ตามมาตรา  ๒(๑๑)  แหงกฎหมายเดียวกัน  หมายความถึง

                 การรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการทั้งหลายอื่นตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้
                 ซึ่งพนักงานสอบสวนไดทําไปเกี่ยวกับความผิดที่กลาวหา เพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือพิสูจนความผิด

                 และเพื่อจะเอาตัวผูกระทําผิดมาฟองลงโทษ
                             รายงานการสืบสวนก็คือ  การที่ผูสืบสวนไดรายงานเหตุการณที่ตนออกไปสืบสวน

                 ใหผูบังคับบัญชาทราบ ในรายงานการสืบสวนใหไดความวา ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อใด ทําไม อยางไร
                 แตในทางปฏิบัติแลวผูสืบสวนจะแจงเสนอผูบังคับบัญชาในตอนทายของบันทึกการสืบสวนและพรอมกับ

                 มีความเห็นวาควรจะปฏิบัติอยางไร ตอไป เชน เสนอวาควรตรวจคนบานผูตองสงสัยตามทาง
                 สืบสวนวาผูตองหาในคดีปลนทรัพยจะมาพักอาศัยอยู เปนตน



                 ÃٻẺ¢Í§¡ÒÃÃÒ§ҹ¡ÒÃÊ׺Êǹ

                             สํานักงานตํารวจแหงชาติไดมีการกําหนดหนาที่การงานและหลักเกณฑในการปฏิบัติ

                 ในสถานีตํารวจ เพื่อใหรูปแบบวิธีการปฏิบัติงานและอัตรากําลังขาราชการมีความเหมาะสมกับ
                 ปริมาณและคุณภาพของงานโดยมีวัตถุประสงคใหการปฏิบัติหนาที่ของขาราชการตํารวจเปนไป

                 อยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                             สําหรับสถานีตํารวจนครบาลและสถานีตํารวจภูธรไดมีการกําหนดหนาที่ ออกเปน ๕ งาน คือ
                             ๑.  งานธุรการ

                             ๒.  งานปองกันปราบปราม
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67