Page 6 - akanee jan
P. 6
6
THAIOIL GROUP COR-
NER
เพื่อให้เกิดประโยชน์
สูงสุด และ Smart
Grid หรือ ระบบ
บริหารจัดการ
โครงขา่ ยอจั ฉรยิ ะ
ท่ีให้มีการเชื่อมโยง
ระบบไฟฟ้า ระบบ
สารสนเทศ และระบบ
ส่ือสาร เข้าไว้ด้วยกันเป็น
โครงข่ายทางานร่วมกัน
อย่างมีระบบ และมี
เสถียรภาพ ไปจนถึง
การเชื่อมโยงระบบ
ไฟฟา้ ระหวา่ งประเทศ
และการส่งไฟฟ้า
ขายข้ามประเทศ
ตลอดจนการเปิดให้มี
การแข่งขันในกิจการ
ก๊าซธรรมชาติ ทั้งในส่วนของ การใช้ท่อส่งก๊าซธรรมชาติ
ท่ารับ LNG รวมถึงการผลิตไฟฟ้าประเภทผสมผสาน ระหว่างพลังงานธรรมชาติ (PV Wind Hydro) และ พลังงานชีวภาพ (Biomass Biogas MSW)
ส่วนในระดับชุมชน/ประชาชน มุ่งเน้นการ
สร้างรายได้ และลดรายจ่ายให้กับประชาชนและชุมชน ผ่านโครงการประชารัฐ การสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสังคม การดาเนินโครงการพลังงานชุมชน และการส่งเสริมด้าน พลังงานในธุรกิจ SMEs ซ่ึงปัจจุบันมีการขับเคล่ือนอยู่แล้วหลาย โครงการ อาทิ การส่งเสริมธุรกิจพลังงานหมุนเวียนในชุมชน เช่น การ สนับสนุนให้ชุมชนผลิตและจาหน่ายก๊าซไบโอมีเทนเพ่ือทดแทนก๊าซ หุงต้มในครัวเรือน โครงการช่วยเหลือเกษตรกร เช่น โครงการสูบน้า พลังงานแสงอาทิตย์สู้ภัยแล้ง 900 ระบบ ท่ัวประเทศ เพื่อช่วยบรรเทา การขาดแคลนน้าในการอุปโภคแก่เกษตรกร เป็นต้น
การขับเคลื่อน Energy 4.0 ไม่ว่าจะเป็นในระดับประเทศ หรือระดับชุมชน ต่างมุ่งไปสู่เป้าหมายเพื่อการยกระดับการ บริหารจัดการระบบพลังงาน และส่งผลให้การผลิต การจัดหา พลังงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีความม่ันคง ด้วยการ จัดหาพลังงานจากแหล่งในประเทศให้มากที่สุด ซ่ึงจะสะท้อนไปยัง ต้นทุนพลังงานท่ีแข่งขันได้ เป็นการวางรากฐานท่ีดีให้ระบบเศรษฐกิจ ดึงดูดให้เกิดการลงทุนทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ท่ีสาคัญ ยังผลักดันให้สามารถสร้างการลงทุนในส่วนของภาคพลังงานซึ่งเป็น ส่วนในการขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในอีก ทางหน่ึง
ในส่วนของภาคธุรกิจ หลายๆ องค์กรต่างก็ได้มีการปรับ แผนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายท้ัง Thailand 4.0 และ Energy 4.0 ซึ่งมีท้ังในส่วนของบริษัทเอกชน และความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยในส่วนของความร่วมมือระหว่าง
แ ล ะ
ภาครัฐและเอกชน ตัวอย่างเช่น โครงการ Bio Economy ท่ีเพิ่งจะ เปิดตัวโครงการไปเม่ือเร็วๆ น้ี ท่ีเป็นความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน ร่วมกับสถาบันการศึกษาและการวิจัย เพื่อสร้างเศรษฐกิจ ชีวภาพ ด้วยการนา 2 ตัวแปรสาคัญ ได้แก่ เกษตรสมัยใหม่ และ อุตสาหกรรมพลังงานและเคมีชีวภาพ (Biorefinery) มาบริหารจัดการ ด้วยเทคโนโลยี ควบคู่กับการวิจัยและการพัฒนา เพ่ือให้เกิดคุณค่า และสร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะเป็นการเปล่ียนรูปแบบจากเศรษฐกิจฐาน เกษตรกรรมไปสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม โดยมีสินค้าเกษตรอย่าง มันสาปะหลังและอ้อย ซึ่งเป็นสินค้าเกษตรท่ีส่งออกเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโลกมาเป็นตัวนาร่อง ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมในลักษณะห่วงโซ่ ท่ีเพ่ิมมูลค่าเพ่ิมได้หลากหลายเลยทีเดียว ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา พลังงานชีวภาพ เช่น เอทานอล พลังงานไฟฟ้าชีวมวล เพื่อเป็น พลังงานทางเลือกที่มั่นคงและแข่งขันได้ ซึ่งนับได้ว่าเป็นอีกหนึ่ง นวัตกรรมท่ีสอดรับยุค 4.0 ที่ชัดเจนอีกหน่ึงโครงการ