Page 7 - fertilityguide-vol2-TH
P. 7
1. การตรวจคัดกรองหลังจากตั้งครรภ์ 2. การตรวจคัดกรองก่อนตั้งครรภ์
จะเป็นตรวจคัดกรองความผิดปกติของทารก จะเป็นการตรวจจากการใช้วิธีท�าเด็กหลอดแก้ว
ในครรภ์ เช่น การตรวจเลือดคุณแม่ตั้งครรภ์ เท่านั้น เราจะสามารถตรวจโครโมโซมเซลล์ตัว
่
ื
ั
เพอตรวจคดกรองความผิดปกติของโครโมโซม อ่อน หลังจากที่เพาะเลี้ยงตัวอ่อนได้แล้ว โดย
ทารกในครรภ์ การเจาะตรวจน�้าคร�่าที่สามารถ จะตรวจคัดกรองก่อนย้ายตัวอ่อนเข้าสู่โพรง
บอกความผิดปกติเกี่ยวกับทารกได้ เช่น ภาวะ มดลูก เป็นวิธีที่สามารถตรวจดูว่ามีความผิด
ดาวนซนโดรม หรือความผิดปกติทางโครโมโซม ปกติหรือไม่ ซึ่งหากพบว่าตัวอ่อนผิดปกติก็จะ
ิ
์
ึ
ั
ซ่งวิธีเหล่าน้จะตรวจได้เม่อต้งครรภ์ไปแล้ว ไม่น�าตัวอ่อนนั้นมาใช้ ท�าให้สามารถคัดกรอง
ี
ื
ตัวอ่อนที่สมบูรณ์มาได้ก่อนที่จะตั้งครรภ์
้
ี
ทงนบางครั้งคู่สมรสที่อายุมากก็มีที่พบว่าตัวอ่อนผิดปกติทั้งหมด ไม่สามารถย้ายเข้าสู่โพรงมดลูกได้
ั
้
ต้องท�าใหม่ ซึ่งถือว่าเป็นข้อดีที่ไม่ต้องไปย้ายตัวอ่อนให้เสียค่าใช้จ่าย และลดความล้มเหลวที่จะ
เกิดขึ้นด้วย อย่างไรก็ตามแพทย์ก็ต้องพิจารณาเป็นรายๆ ไปด้วยครับ
ส�าหรับผู้ที่กังวลเรื่องนี้อาจจะมาปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญก่อน เพื่อวางแผนเรื่องการตรวจคัดกรอง
ที่เหมาะสมต่อไปครับ
อัตราการเกิดทารก (ต่อ 1,000 คน) ในผู้หญิง ตามกลุ่มอายุ
ที่มา : www.childtrends.org/indicators/fertility-and-birth-rates
7