Page 48 - CPS_Report_2564_kalasin
P. 48
7. กรรมการบางรายยังขาดความกระตือรือร้น และความเสียสละในการปฏิบัติงานเท่าที่ควร และยังขาด
ความรู้ ความเข้าใจการบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ์อย่างมืออาชีพ
8. สมาชิกยังขาดการมีส่วนร่วมในธุรกิจรวบรวมผลผลิต ในส่วนของผักชนิดอื่นๆ
9. สหกรณ์ฯ ยังขาดอุปกรณ์การตลาดที่เพียงพอ อาทิ โรงคัดที่ผ่านมาตรฐาน GMP, รถห้องเย็น ,โกดัง
เก็บผลผลิต
10. ปัญหาสหกรณ์ฯยังไม่มีสำนักงาน และที่ดินเป็นของสหกรณ์ฯ
ี่
สรุปแนวทางแก้ไขทจะส่งเสริมให้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 :
1. ส่งเสริม แนะนำความรู้ ความเข้าใจ เรื่องอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ,บทบาทหน้าที่และสิทธิ
์
ของกรรมการ สมาชิก
2. ส่งเสริม แนะนำความรู้ ความเขาใจเรื่องการบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ และสนับสนุนให้สหกรณฯเข้า
์
้
์
รับการฝึกอบรมเรื่องการบริหารจัดการธุรกิจสหกรณ์อย่างมืออาชีพจากหน่วยงานต่างๆ
3. ส่งเสริม แนะนำสมาชิกให้มีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์ ผ่านเวทีประชุมใหญ่
4. ส่งเสริม แนะนำสหกรณ์ฯในการจัดการด้านตลาด มีการวางแผนการผลิตและการตลาด
5. ส่งเสริม แนะนำสหกรณ์ฯจัดทำแผนการผลิตและการตลาด รวมถึง Business Model ธุรกิจรวบรวมผัก
ปลอดสาร และการวิเคราะห์หน้าที่ทางธุรกิจในโซ่อุปทานสินค้าหลักของสหกรณ์ฯ
6. ส่งเสริม แนะนำสหกรณ์ฯเรื่องการควบคุมภายในสหกรณ์ และการบริหารจัดการองค์กรที่ดีตามหลักธรร-
มาภิบาล
7. การกำกับ ดูแล สหกรณ์ฯให้ดำเนินการตามกฎหมาย/ระเบียบ/ข้อบังคับและป้องกันการเกิดขอบกพร่อง
้
์
ในสหกรณฯ
8. ส่งเสริม แนะนำให้สหกรณ์ฯ ขอสนับสนุนอุปกรณ์การตลาดจากหน่วยงานภาครัฐ
9. ส่งเสริม แนะนำการเพิ่มปริมาณธุรกิจของสหกรณ ์
10.ส่งเสริมแนะนำการวิเคราะห์ความเสี่ยงของการดำเนินธุรกิจ วิเคราะห์จุดคุ้มทุน ต้นทุน และการลด
ต้นทุน/ค่าใช้จ่าย
11. ส่งเสริม แนะนำให้สหกรณ์ฯให้เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการผลผลิตและการตลาดของสมาชิก
12. ส่งเสริม แนะนำการดำเนินงานตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ี่
ลงชื่อ ส.ต.ต.หญิงศุภางค์ วันชูเพลา เจ้าหน้าทผู้รับผิดชอบ
นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
วันที่ 5 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร