Page 138 - CPS_Plan_2565_kalasin_Final
P. 138

์
                               1.2 เจ้าหน้าที่ของสหกรณ สหกรณ์ได้จัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์จำนวน 1 คน ซึ่งไม่สอดคล้องและ
                 เหมาะสมกับปริมาณงาน และปริมาณธุรกิจ จึงต้องมอบหมายคณะกรรมการ เพื่อให้ครอบคลุมปริมาณงาน

                                              ์
                               1.3 สมาชิกของสหกรณ: สหกรณ์มีสมาชิกจำนวน 75 คน อาชีพหลัก คือ เกษตรผสมผสาน สมาชิก
                 มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน  และการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ร้อยละ 100 แต่การวางแผนผลิตยังไม่

                 สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ดังนั้น  สหกรณ์ต้องพัฒนาศักยภาพการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับ
                 การตลาด เพื่อเพิ่มปริมาณธุรกิจ ส่งผลให้สมาชิกมีรายได้ตลอดทั้งปี

                        2  ด้านทรัพยากร
                             2.1  เงินทุนของสหกรณ  สหกรณ์มีเงินทุนดำเนินงานทั้งสิ้น  2.7 ล้านบาท  ส่วนใหญ่เป็นเงินทุน
                                               ์
                 ภายนอก ร้อยละ 75.41 โดยมาจากการอุดหนุนร้อยละ 56.65 เงินกู้ยืมร้อยละ 16.44 เงินรับฝากและอื่นๆร้อย

                 ละ 2.32  ส่วนที่เหลือมาจากแหล่งทุนภายใน 24.59 เงินทุนของสหกรณ์ถือว่าไม่มีความเสี่ยงเนื่องจากจำนวน
                 หนี้สินส่วนใหญ่เป็นเงินอุดหนุนจ่ายขาด และไม่มีภาระที่ต้องชดใช้คน สหกรณ์มีทุนสำรองต่อสินทรัพย์ต่ำมาก
                                                                        ื
                 เนื่องจากสหกรณ์อยู่ภายใต้โครงการจัดที่ทำกินให้กับผู้ยากไร้ สมาชิกมีขีดความสามารถที่จำกัด การบริหารงาน

                 สหกรณ์จึงมุ่งเน้นการให้สมาชิกมีรายได้ที่เพียงพอภายในครัวเรือนก่อน จึงไม่มีผลกำไรมากพอที่จะจัดสรรเป็น
                 ทุนสำรองตามระดับมาตรฐานได้

                                                          ์
                                2.2 ด้านอุปกรณ์การตลาด สหกรณได้รับการสนับงบประมาณ เงินอุดหนุน จากกรมส่งเสริม
                 สหกรณ์คือ อาคารสำนักงานและใช้ในการเก็บผลผลิต และยังได้รับการสนับการส่งเสริมอาชีพจาก
                 คณะอนุกรรมการพัฒนาอาชีพ ตามโครงการ คทช.

                              สหกรณ์มีความพร้อมในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐ เพื่อเป็นกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจระดับ
                 ฐานราก เนื่องจากมีความพร้อมด้านเงินทุน ปัจจัยพื้นฐาน และด้านบุคลากร ฯลฯ

                        3. ด้านการบริหารจัดการองค์กร  สหกรณ์การเกษตรบ้านดงกล้วย จำกัด เป็นสหกรณ์ขนาดเล็ก

                 คณะกรรมการดำเนินการ มีองค์ความรู้ด้านการสหกรณ์พอสมควร การดำเนินงานเป็นไปภายใต้กรอบกฎหมาย
                       ั
                 ข้อบังคบ ระเบียบสหกรณ์ มติที่ประชุมใหญ่  มติที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ มีการติดตามผลการ
                 ดำเนินงานเป็นประจำทุกเดือน
                            ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร ซึ่งประเมินจากการจัดชั้นคุณภาพควบคุมภายใน  อยู่ใน  ”

                                                                                                          ุ
                 พอใช” สหกรณ์ปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ มีการแบ่งแยกหน้าที่ชัดเจน มีระบบการควบคม
                     ้
                 ภายใน ที่มีประสิทธิภาพ และมีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการและใช้หลักธรรมาภิบาลใน
                 การบริหารงาน สหกรณ์ควรจัดทำแผน ยกระดับการควบคุมภายใน สู่ระดับ ดี

                        4. ด้านการดำเนินธุรกิจ:  สหกรณ์ฯดำเนินธุรกิจ  6 ด้าน ได้แก่ 1) ธุรกิจ สินเชื่อ    2) ธุรกิจจัดหา

                 สินค้ามาจำหน่าย  3) ธุรกิจรวบรวมผลผลิต  4) ธุรกิจแปรรูปผลผลิต  5) ธุรกิจรับฝากเงิน 6) ธุรกิจบริการ
                 ธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ ธุรกิจรวบรวม ที่มีการวางแผนผลิตให้สอดคล้องกับแผนการตลาด แต่เมื่อถึงฤดูแล้ง

                 จะประสบปัญหาน้ำไม่พอต่อการเพาะปลูก ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยงที่สหกรณ์จะประสบผลขาดทุน

                 คณะกรรมการควรพิจารณาวางแผนการดำเนินธุรกิจ และติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน










                  ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143