Page 296 - CPS_Plan_2565_kalasin_Final
P. 296
3.2 อัตราส่วนลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระได้ตามกำหนด เป็นอัตราส่วนที่วัดความสามารถในการเก็บ
์
หนี้ของสหกรณผลลัพธ์มากเท่าไรยิ่งดี
์
สหกรณผู้เลี้ยงโค-กระบือบ้านนาสาร จำกัด มีอัตราส่วนลูกหนี้ระยะสั้นที่ชำระได้ตามกำหนด
ย้อนหลัง 3 ปี ลูกหนี้ถึงกำหนดชำระหว่างปี 2564 สามารถเก็บหนี้ได้ร้อยละ 0.00 ปี 2563 สามารถเก็บหนี้ได้
ร้อยละ 0.00 และในปี 2562 สามารถเก็บหนี้ได้ร้อยละ 0.00 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโค-กระบือบ้านนาสาร จำกัด หยุด
ดำเนินงาน จึงไม่สามารถคำนวณอัตราส่วนการเงิน
มิติที่ 4 วิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร
อัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงาน เป็นอัตราส่วนที่บ่งบอกถึง
ความสามารถการควบคุมคาใช้จ่ายของสหกรณผลลัพธ์น้อยเท่าไรยิ่งดี
์
่
สหกรณผู้เลี้ยงโค-กระบือบ้านนาสาร จำกัด มีอัตราค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหัก
์
่
ค่าใช้จ่ายดำเนินงานย้อนหลัง 3 ปี ในปี 2564 คาใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงานเป็นร้อยละ
-12.78 ในปี 2563 คาใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใชจ่ายดำเนินงานเป็นร้อยละ -54.56 และในปี 2562
้
่
ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงานเป็นร้อยละ 0 ซึ่งหมายถึงแนวโน้มสหกรณ์มีค่าใช้จ่าย
ดำเนินงานต่อกำไรก่อนหักค่าใช้จ่ายดำเนินงานสูง ยังไม่สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ดีเท่าที่ควรอาจส่งผลต่อการ
ทำกำไรในอนาคต
การวิเคราะห์ SWOT Analysis
ผลการวิเคราะห์ SWOT Analysis โดยวิเคราะห์จากสภาพแวดล้อมภายใน 4M, 4P’s,
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก PESTEL และ Five Force Model สำหรับวิเคราะห์คู่แข่ง มีดังนี้
จุดแข็ง (S) จุดอ่อน (W)
-ไม่ม- W1 คณะกรรมการดำเนินงานไม่ให้ความสนใจในการทำ
ี
สหกรณ์หยุดดำเนินธุรกิจติดต่อกัน หน้าที่
เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสองปี W2 สมาชิกไม่ให้ความร่วมมือในการดำเนินธุรกิจ
สหกรณ ์
W3 สหกรณ์ไม่สามารถเก็บหนี้จากสมาชิกได้ และไม ่
สามารถนำส่งเงินกู้ยืมกรมส่งเสริมสหกรณภายใน
์
กำหนดชำระ
โอกาส(O) อุปสรรค(T)
O1 หน่วยงานรัฐที่กำกับ ดูแล ให้ความสนใจและเข้าให้ T1 สภาพเศรษฐกิจในปัจจบันที่ตกต่ำ ทำให้การค้า การ
ุ
คำแนะนำ ติดตาม รับฟังปัญหา และพร้อมร่วมหาทาง ขาย และการลงทุนมีปริมาณน้อย
ั
แก้ไข T2 ปัจจยในการผลิตสินค้าเกษตรมีราคาสูงขึ้น เช่น ปุ๋ย
และเครื่องมือการเกษตรต่าง ๆ
T3 ภัยธรรมชาติ ฝนแล้ง น้ำท่วม ส่งผลให้ผลผลิต
ทางการเกษตรของสมาชิกเสียหาย
่
T4 สถานการณ์การแพรของไวรัสโควิด 19
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร