Page 29 - E-book เรื่องธาตุและตารางธาตุ ชั้นม.4
P. 29

เนื่องจากแบบจ าลองอะตอมของโบร์ ใช้อธิบายเกี่ยวกับ


            เส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนได้ดี แต่ไม่สามารถอธิบาย


            เส้นสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้ จึงได้มี


            การศึกษาเพิ่มเติมทาง กลศาสตร์ควอนตัม แล้วสร้างสมการ



            ส าหรับใช้ค านวณโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน


            ต่างๆ ขึ้นมาจนได้แบบจ าลองใหม่ ที่เรียกว่า แบบจ าลอง


            อะตอมแบบกลุ่มหมอก ดังรูป
























              กลุ่มหมอกที่หนาแน่นแสดงว่ามีโอกาสมากที่จะพบอิเล็กตรอน


       ในบริเวณนั้น โดยที่อยู่ของอิเล็กตรอนนั้นถูกก าหนดด้วยค่าพลังงาน



       อิเล็กตรอนมีพลังงานที่เหมาะสมกับออร์บิทัลใด จะเคลื่อนที่อย                               ู่


       บริเวณนั้น (ออร์บิทัล = ที่อยู่ของอิเล็กตรอน)






                                                       แบบจ ำลองอะตอม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34