Page 56 - หนังสือพลังแห่งการพูด
P. 56
�
2. เรื่องท่ผู้ฟังสนใจ จะทาให้ผู้ฟังติดตามการพูดโดยตลอด ขอ
ี
ื
�
ี
ยกตัวอย่างเร่องท่ผู้เข้าอบรมหลักสูตรการพูดต่อหน้าชุมชนและการนา
เสนอ กับผม ชื่อคุณณัฏฐพงค์ มานีมาน ผู้จัดการฝ่ายโรงแยกก๊าซระยอง
2 บริษัท ปตท. จังหวัดระยอง พูดเรื่อง “ปลาสามกษัตริย์”
ผู้ฟังส่วนใหญ่คิดว่าเป็นปลาพระราชา แต่เขาพูดถึงปลาท่มีรสชาต ิ
ี
อร่อยสุดๆ 3 ชนิด แล้วก็เดินเรื่องที่ละชนิด เริ่มชนิดแรกคือปลากุดสลาด
ชนิดที่สองคือปลาเต๋าเต้ย และสามคือปลานกแก้ว
คนฟังก็ฟังอย่างตั้งใจ และจดจ่อ รวมทั้งผมด้วย เพราะอยากรู้ว่า
มีปลาอะไรบ้างจะได้เลือกกินปลาอร่อยๆ อย่างถูกต้อง
ถ้าพูดกับชาวไร่ชาวนา ต้องพูดเร่องการลดต้นทุน การเพ่มผลผลิต
ิ
ื
การท�าให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น เป็นต้น
ื
ถ้าพูดกับผู้ป่วย พูดเร่องการแพทย์ทางเลือก การรักษาโรคด้วยวิธ ี
การอื่นๆ ที่ได้ผล เช่นพฤติกรรมบ�าบัด หัวเราะบ�าบัด โภชนาการบ�าบัด
3. เรื่องใหม่ท่ไม่เคยได้ยินมาก่อน จะช่วยให้เร่องท่พูดน่าสนใจ
ื
ี
ี
มากกว่าเรื่องที่ใครๆ ก็รู้อยู่แล้วโดยธรรมชาติ เพราะคนชอบอะไรที่ใหม่ๆ
อยู่เสมอ
ี
ิ
เช่นเทคโนโลยีใหม่ๆ งานวิจัยส�าคัญๆ ท่เพ่งค้นพบแอพพลิเคชั่น
(Application) ใหม่ๆ ของโทรศัพท์มือถือ
4. เรื่องที่เกี่ยวกับผู้ฟังโดยตรง จะดึงดูดความสนใจได้ดีที่สุด
และเร็วที่สุด ลูกศิษย์ที่เข้าเรียนการพูดกับผมคนหนึ่ง ถามผมว่า “จะพูด
อย่างไรให้เกษตรกรสนใจปุ๋ยและเมล็ดพันธุ์พืชของเขา”
ผมแนะน�าให้ตั้งชื่อให้ดึงดูดใจ เช่น “ถึงเวลารวยแล้ว” “มารวย
กันเถอะ” “พอกันทีกับความจน” และแนะน�าให้ไปปรับหรือหาค�าเด็ดๆ
กว่านี้ ถ้าคิดได้
สุกิจ ศุภกิจเจริญ 55