Page 30 - D:\Insurance SSJ.Ubon\กองทุนสุขภาพตำบล พื้นที่\
P. 30
24
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น...........................................บำท (.............................................................)
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เพิ่มเป็นร้อยละ 60 แม่และครอบครัวมีความ
เข้มแข็ง และส่งผลให้พัฒนาการเด็ก 0 - 5 ปีดีขึ้น
2. ชุมชนมีระบบการดูแล เฝ้าระวัง อนามัยแม่และเด็กที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้เกิดตําบล
นมแม่ต้นแบบที่เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป
สรุปแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม(ผู้เสนอฯ ลงรำยละเอียด โดยในแต่ละข้อย่อยให้เลือกเพียง 1 รำยกำรที่
เป็นรำยกำรหลักส ำหรับใช้ในกำรจ ำแนกประเภทเท่ำนั้น เพื่อให้เจ้ำหน้ำที่ อปท. บันทึกข้อมูลลงโปรแกรม
กองทุนฯ เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว)
1. หน่วยงำน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงกำร (ตำมประกำศคณะกรรมกำรหลักประกันฯ
พ.ศ. 2557 ข้อ 7) ชื่อหน่วยงำน/องค์กร/กลุ่มคน หน่วยบริกำรหรือสถำนบริกำรสำธำรณสุข
หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของรัฐ เช่น สสอ.
หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
2. ประเภทกำรสนับสนุน (ตำมประกำศคณะกรรมกำรหลักประกันฯ พ.ศ. 2557 ข้อ 7)
สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
[ข้อ 7(1)]
สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/
หน่วยงานอื่น[ข้อ 7(2)]
สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ [ข้อ 7(3)]
สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 7(4)]
สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ [ข้อ 7(5)]
3. กลุ่มเป้ำหมำยหลัก (ตำมแนบท้ำยประกำศคณะอนุกรรมกำรส่งเสริมสุขภำพและป้องกันโรคฯ
พ.ศ. 2557)
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563