Page 7 - D:\Insurance SSJ.Ubon\กองทุนสุขภาพตำบล พื้นที่\
P. 7

1


                                                         บทนํา




                     ที่มา แนวคิด และหลักการของระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท%องถิ่นหรือพื้นท ี่


               ที่มา

                        มาตรา 47 แห
งพระราช บัญญัติหลักประกันสุขภาพแห
งชาติพ.ศ. 2545 กําหนดให%คณะกรรมการ
               หลักประกันสุขภาพแห
งชาติ (คณะกรรมการหลักฯ) สนับสนุน ประสาน และกําหนดหลักเกณฑ-ให%องค-กร

               ปกครองส
วนท%องถิ่น (อปท.) เป2นผู%ดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท%องถิ่นหรือ
               พื้นที่ โดยให%ได%รับ ค
าใช%จ
ายจากกองทุนหลักประกันสุขภาพแห
งชาติเพื่อดําเนินการให%เป2นไปตามเจตนารมณ-

               สํานักงาน หลักประกันสุขภาพแห
งชาติ(สปสช.) ได%ประสานหารือการดําเนินงานกับกรมส
งเสริมการปกครอง
               ท%องถิ่น สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห
งประเทศไทย สมาคมองค-การบริหารส
วนตําบลแห
งประเทศไทย และ

               หน
วยงานที่เกี่ยวข%องซึ่งในป=2549คณะกรรมการหลักจึงออกประกาศเรื่องการกําหนดหลักเกณฑ-
               เพื่อสนับสนุนให%องค-การบริหารส
วนตําบล (อบต.) หรือเทศบาลดําเนินงานและบริหารจัดการระบบ
               หลักประกันสุขภาพในระดับท%องถิ่นหรือพื้นที่ โดยในป=แรก สปสช. ร
วมกับ อบต. และเทศบาลนําร
องให%มี

               กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท%องถิ่นหรือพื้นที่ (กองทุนฯ)
                        ระบบหลักประกันสุขภาพแห
งชาติคือ ระบบที่ประกันให%ประชาชนทั้งหมดและชุมชนสามารถเข%าถึง

               บริการสาธารณสุขที่จําเป2นได%อย
างมั่นใจ ทั้งการส
งเสริม การป@องกัน การบําบัดรักษา การฟCDนฟู สมรรถภาพ
               และการดูแลแบบประคับประคอง ที่มีคุณภาพเพียงพอและมีประสิทธิผล โดยไม
มีปEญหา ด%านค
าใช%จ
ายจาก

               การใช%บริการ โดยรวมมีความหมายครอบคลุมวัตถุประสงค-ใหญ
 ๆ 3 ประการ คือ
                          1) ความเท
าเทียมกันในการเข%าถึงบริการสุขภาพ โดยทุกคนที่มีความจําเป2นรับบริการควรได%รับ

               บริการ ไม
ใช
เฉพาะผู%ที่สามารถจ
ายได%
                          2) บริการต%องมีคุณภาพเพียงพอที่จะทําให%สุขภาพของผู%รับบริการดีขึ้น
                          3) ทุกคนควรได%รับการคุ%มครองค
าใช%จ
ายหรือความเสี่ยงทางการเงินเมื่อเจ็บปJวย เพื่อให%มั่นใจว
า

               จะไม
ล%มละลายจากการใช%บริการ คณะกรรมการหลักฯ โดย สปสช. เป2นผู%ดําเนินงานและบริหารจัดการ ระบบ
               หลักประกันสุขภาพในระดับประเทศ มีกิจกรรมหลักที่สําคัญคือการลงทะเบียนสิทธิของประชาชน การกําหนด

               สิทธิประโยชน- การจัดหาหน
วยบริการให%ประชาชน การจัดซื้อบริการสาธารณสุข (การบริหารจัดการกองทุน)
               การควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการ การจัดให%มีระบบสารสนเทศและ ข%อมูลการติดตามและประเมินผล

               การปกป@องสิทธิและสนับสนุนการมีส
วนร
วมของประชาชน


               วัตถุประสงค.
                        “กองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท%องถิ่นหรือพื้นที่” มีวัตถุประสงค-เพื่อสนับสนุนและส
งเสริม
               การจัดบริการสาธารณสุขของ หน
วยบริการ สถานบริการ หน
วยงานสาธารณสุข หน
วยงานอื่น องค-กร





                          สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
                                                          คู มือการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท%องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12