Page 125 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 125
120
วิธีกำรด ำเนินกำร
1. ขั้นตอนการวางแผนงาน
- ร่วมกันประชุมวางแผน ก าหนดเป้าหมาย จ านวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบมีการด าเนินการโครงการ
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
- ประสานด าเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. จัดท าโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันคุณภาพองค์การบริหารส่วนต าบล...................................
3. ขั้นตอนการด าเนินงาน
3.1 คณะกรรมการหมู่บ้าน จัดท าฐานฐานข้อมูลครอบครัว
- ประชาคมหมู่บ้าน เพื่อเตรียมความพร้อม และชุมชนเห็นความจ าเป็นในการจัดตั้งด่านครอบครัว และ
เกิดข้อตกลงในการด าเนินการร่วมกันของชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน จัดท าฐานข้อมูลครอบครัว
ของแต่ละหมู่บ้าน เช่น การส ารวจครอบครัวที่มีรถจักรยานยนต์ จ านวนหมวกนิรภัย คนที่สามารถ
ขับขี่ คนที่มีใบขับขี่ ประวัติการดื่มสุรา การติดสุรา จุดที่จะดื่มสุราในหมู่บ้าน เป็นต้น โดยแบ่งกลุ่ม
ครอบครัวตามความเสี่ยง เป็น 3 กลุ่ม
1.กลุ่มเสี่ยงสูง (เพิ่มโอกาสเกิดอุบัติเหตุ) : มีความเสี่ยงหรือพฤติกรรมการดื่มเหล้าในช่วงเทศกาล
มีประวัติ ติดสุรา ทุกเทศกาลจะดื่มสุรา
2.กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (เพิ่มความรุนแรง) มีความเสี่ยงที่จะไม่สวมหมวกนิรภัย : มีประวัติหมวก
นิรภัยไม่พอมีพฤติกรรมไม่สวมหมวกนิรภัยอยู่แล้ว ไม่สวมหมวกนิรภัยในช่วงเทศกาล
3.กลุ่มเสี่ยงต่ า : มีรถจักรยานยนต์
3.2 ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่
คณะกรรมการหมู่บ้าน น าผลสรุปข้อมูลความเสี่ยงของครอบครัวกลับคืนให้แต่ละครอบครัว และขอ
ความสมัครใจของครอบครัวในการร่วมโครงการคณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับครอบครัว จัดท าแผนปฏิบัติ
การ “ ด่านครอบครัว” ให้กับแต่ละครอบครัว โดยคัดเลือกหัวหน้าครอบครัวหรือผู้มีอิทธิพลในบ้านที่ไม่ดื่ม
สุรา ท าหน้าที่เป็นผู้เฝ้าด่านจัดท าแผนปฏิบัติการรายครอบครัว ตัวอย่างเช่น
1) การเก็บลูกกุญแจในบ้านที่มี ความเสี่ยงสูง ให้เก็บลูกกุญแจไว้ กับผู้รับผิดชอบด่านครอบครัว
2) หากมีแนวโน้มที่ไม่ส าเร็จในการรั้งไม่ให้ คนที่ดื่มสุราขับรถจักรยานยนต์ ให้ฝากไว้กับผู้น าชุมชม
เป็นต้น
3) หากมีกิจกรรมการดื่มสุราในบ้าน จะต้องค้นหาและมอบหมายให้คนที่ไม่ดื่มสุราจัดหาสุรามาให้
หรือมีการจัดส่งให้โดยเจ้าของร้านค้า
- คณะกรรมการหมู่บ้านร่วมกับครอบครัว หาแนวทาง ในการจัดหา/การบังคับ การสวมหมวกนิรภัย
จัดท าแนวทางการสื่อสาร ระหว่างหัวหน้าด่านครอบครัว กับ หัวหน้าด่านชุมชน และจุดบริการ หรือ
จุดที่มีเจ้าหน้าที่ต ารวจ เช่น line กลุ่มหรือโทรศัพท์ หรือวิธีการอื่น ๆ หากต้องการความช่วยเหลือ
- จัดเตรียมทีมเคลื่อนที่เร็วจากด่านชุมชน/และจุดบริการ เข้าช่วยเหลือ เมื่อได้รับการร้องขอจากหัวหน้าด้าน
ครอบครัว
- ผู้น าชุมชนและผู้น าองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ลงพื้นที่พบครอบครัวกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด เพื่อชี้
แจ้งแนวทางและให้ก าลังใจให้กับหัวหน้าด่านครอบครัว และหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน
- เยี่ยมติดตามโดยทีมผู้น าชุมชนและทีมจากด่านชุมชน เข้าไปยังจุดที่มีการตั้งวงดื่มสุรา ในชุมชนหรือบ้าน
ช่วงเทศกาลสงกรานต์มาตรการหรือวิธีการอื่นๆ ที่คณะกรรมการต าบล หมู่บ้านและครอบครัวร่วมกัน
ออกแบบ ตามบริบทของ พื้นที่และคนในแต่ละครอบครัวสามารถด าเนินการได้จริง
3.3 น าเสนอข้อมูลเข้าสู่เวที ศปถ. จังหวัด อ าเภอ และต าบลเพื่อขอความร่วมมือ และการสนับสนุนจากทุก
ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ในการน าแผนงานโครงการไปสู่การปฏิบัติ
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563