Page 184 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 184
179
ตัวอย่ำงโครงกำร 2
แบบเสนอแผนงำน/ โครงกำร/ กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล..............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปี 2563
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล................................
ด้วย หน่วยงาน.............................. มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม จิตอาสาดูแลคนพิการและทุพลภาพ
ในชุมชน ปี 2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล
........................... เป็นเงิน............บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร๑กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
หลักกำรและเหตุผล
ส านักงานสถิติแห่งชาติได้ท าการส ารวจจ านวนคนพิการในปี พ.ศ. 2550 พบว่าประเทศไทย มีประชากรที่มีความ
พิการ จ านวน 1.9 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 ของประชากร ทั้งประเทศ และส าหรับจังหวัดอุบลราชธานี มีผู้พิการทุก
ประเภทรวมกันทั้งหมด ในปี 2561 จ านวน .................. คน (เดือน........2562, กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์) ในจ านวนนี้จัดเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวมากที่สุด รองลงมาคือทางการได้ยินและการมองเห็น นอกจากนี้ยังมีผู้
พิการอีกหลายประเภทที่อยู่ในชุมชนที่บางส่วนยังเข้าไม่ถึงระบบการดูแลที่เหมาะสม ทั้งผู้พิการทางสติปัญหา การเรียนรู้ ออทิ
สทิก หรือทางด้านจิตเวช ผู้พิการบางประเภทสามารถออกจากบ้านเพื่อการไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และสามารถที่จะ
ด ารงชีวิตด้วยตนเองได้บ้าง ตามศักยภาพที่สามารถท าได้ ในขณะที่อีกหลายประเภท หลายคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ ไม่
สามารถประกอบอาชีพได้ และยังคงเป็นภาระให้กับผู้ดูแลหรือสมาชิกในครัวเรือนด้วย และนอกจากนี้ ยังพบปัญหาเกี่ยวกับ
เรื่องของความไม่เข้าใจ หรือทัศนคติที่เป็นด้านลบ ที่คนทั่วไป หรือญาติของคนพิการเอง ที่มองคนพิการว่า ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพ หรือท ากิจวัตรต่างๆ ด้วยตนเองได้ หากได้รับการดูแลหรือแนะน าที่เหมาะสม
และยังมองว่า คนพิการก็ยังคงเป็นภาระของครอบครัวหรือผู้ดูแลอยู่ ซึ่งการมองคนพิการด้วยทัศนคติแบบนั้นอาจส่งผลกระทบ
ต่อคนพิการในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะในด้านจิตใจ ที่อาจท าให้ผู้พิการเกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็นภาระสังคมมากยิ่งขึ้นไปอีก
เพื่อลดปัญหาเรื่องความคิดทัศนคติ ความเข้าใจเกี่ยวกับคนพิการ ลดปัญหาเรื่องคนพิการที่ไม่มีคนดูแล โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่
สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ตลอดจนปัญหาเกี่ยวกับทางด้านสุขภาพจิตของคนพิการ จึงได้จัดท าโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้จิต
อาสา ที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะที่จ าเป็นส าหรับการดูแลคนพิการ ให้มีบุคลากรที่จะสามารถลงไปเยี่ยมคนพิการใน
ครัวเรือน เพื่อแนะน าให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเอง ทั้งในเรื่องอาหาร การประกอบกิจวัตรต่างๆ การดูแลตนเองโดนเฉพาะ
เรื่องการป้องกันโรค ตลอดจนการสร้างขวัญและก าลังใจให้เกิดขึ้นกับทั้งคนพิการและคนดูแล เพื่อชี้ให้เห็นว่าคนพิการก็
สามารถพัฒนาศักยภาพในการดูแลตนเองได้ สามารถลดการพึ่งพิงจากคนรอบข้างได้ ถ้าได้รับการดูแลและพัฒนาทักษะที่
เหมาะสมและจะสามารถช่วยลดปัญหาของครอบครัวที่ต้องดูแลลงได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อให้ผู้ดูแลคนพิการได้รับความรู้ ความเข้าใจมีทัศนคติที่ดีในการดูแลคนพิการที่เจ็บป่วยในครอบครัวและ
ชุมชน
2. เพื่อให้คนพิการที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และขาดการดูแล มีผู้ให้การดูแล
3. เพื่อให้คนพิการสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้มีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
วิธีด ำเนินกำร
- ขั้นตอนการวางแผน
- ร่วมกันประชุม วางแผน ก าหนดเป้าหมาย จ านวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการด าเนินงาน
โครงการ
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ ประสานการด าเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563