Page 190 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 190
185
ตัวอย่ำงโครงกำร 4
แบบเสนอแผนงำน/ โครงกำร/ กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล..............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมสนับสนนุการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริม ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพลภาพ
ในชุมชน
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล................................
ด้วย หน่วยงาน............................................มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ส่งเสริมสนับสนนุ
การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริม ฟื้นฟูคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ปีงบประมาณ 2563 โดยขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล.................. เป็นเงิน.....................บาท โดยมีรายละเอียด
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร๑กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
หลักกำรและเหตุผล
ส านักงานสถิติแห่งชาติได้ท าการส ารวจจ านวนคนพิการในปี พ.ศ. 2550 พบว่าประเทศไทย มีประชากรที่มีความ
พิการจ านวน 1.9 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 ของประชากร ทั้งประเทศ และส าหรับจังหวัดอุบลราชธานี มีผู้พิการทุก
ประเภทรวมกันทั้งหมด ในปี 2561 จ านวน...............คน (เดือน.......... 2562, กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์) ในจ านวนนี้จัดเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวมากที่สุด รองลงมาคือทางการได้ยินและการมองเห็น นอกจากนี้ยังมีผู้
พิการอีกหลายประเภทที่อยู่ในชุมชนที่บางส่วนยังเข้าไม่ถึงระบบการดูแลที่เหมาะสม ทั้งผู้พิการทางสติปัญหา การเรียนรู้ ออทิ
สทิก หรือทางด้านจิตเวช ผู้พิการบางประเภทสามารถออกจากบ้านเพื่อการไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และสามารถที่จะ
ด ารงชีวิตด้วยตนเองได้บ้าง ตามศักยภาพที่สามารถท าได้ ในขณะที่อีกหลายประเภท หลายคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ ไม่
สามารถประกอบอาชีพได้ และยังคงเป็นภาระให้กับผู้ดูแลหรือสมาชิกในครัวเรือนด้วย และนอกจากนี้ ยังพบปัญหาเกี่ยวกับ
เรื่องของความไม่เข้าใจ หรือทัศนคติที่เป็นด้านลบ ที่คนทั่วไป หรือญาติของคนพิการเอง ที่มองคนพิการว่า ไม่สามารถ
ช่วยเหลือตนเองได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพ หรือท ากิจวัตรต่างๆ ด้วยตนเองได้ หากได้รับการดูแลหรือแนะน าที่เหมาะสม
และยังมองว่า คนพิการก็ยังคงเป็นภาระของครอบครัวหรือผู้ดูแลอยู่ ซึ่งการมองคนพิการด้วยทัศนคติแบบนั้นอาจส่งผลกระทบ
ต่อคนพิการในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะในด้านจิตใจ ที่อาจท าให้ผู้พิการเกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็นภาระสังคมมากยิ่งขึ้นไปอีก
อย่างไรก็ตามพบว่าการด าเนินงานเกี่ยวกับคนพิการในชุมชนที่ผ่านมานั้นมีข้อจ ากัดหลายเรื่อง เช่น ผู้พิการจ านวน
ไม่น้อย ที่ยังไม่ได้เปลี่ยนสิทธิ์ทางการรักษาพยาบาล ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียน ต่างคนต่างอยู่ ไม่มีการรวมกลุ่มกันด าเนินกิจกรรม
ตลอดจนไม่มีการดูแลช่วยเหลือซึ่งและกัน หรือขององค์กรหน่วยงานในพื้นที่อย่างจริงจังและชัดเจน โดยสาเหตุหนึ่งอาจมาจาก
ความสามารถในการเดินทางของคนพิการที่ไม่สะดวก ในการเดินทางเพื่อขอรับบริการในหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล การเดินทาง
แต่ละครั้งเพื่อออกนอกชุมชนกลายเป็นปัญหาใหญ่ทั้งของคนพิการเองและผู้ดูแลด้วย การไม่มีโอกาสได้มารวมกลุ่มหรือพบกับ
คนอื่นๆ ในชุมชนมากนัก ยิ่งท าให้คนพิการเกิดความรู้สึกถึงการถูกปล่อยทิ้งจากสังคมและคนรอบข้างมากขึ้น ดังนั้นแนวคด
การจัดตั้งศูนย์ฟื้นฟูและดูแลคนพิการในชุมชน จึงต้องการเอื้อให้คนพิการสามารถเข้าถึงสวัสดิการและการดูแลต่างๆ ได้มาก
ขึ้น เกิดการรวมกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างคนพิการเอง หรือคนในชุมชนที่เป็นจิตอาสาในการดูแลคนพิการ ตลอดจน
ช่วยสร้างความรู้สึกถึงความห่วงใยของสังคมที่มีต่อคนพิการ ที่ต้องการจะดูแลอย่างจริงจังด้วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อให้มีศูนย์ส่งเสริม ฟื้นฟู และพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้พิการผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส ในพื้นที่
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้วยโอกาสในพื้นที่ ได้รับการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิต เข้าถึงบริการสาธารณสุขได้
อย่างเท่าเทียม
วิธีด ำเนินกำร
1. ขั้นตอนการวางแผน
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563