Page 10 - Digital Economy Plan-Test
P. 10
- 6 -
1. ก าหนดมาตรฐาน กฎ ระเบียบ และกติกา พัฒนาดิจิทัลของประเทศ เป็นไปอย่างมีเอกภาพ และ
ด้านดิจิทัลให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูงสุด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่ออ านวยความสะดวกด้านการค้า 3. การบูรณาการงาน งบประมาณ และ
และการใช้ประโยชน์ในภาคเศรษฐกิจและสังคม
ทรัพยากรในการด าเนินงาน โดยจะต้องบูรณาการ
2. ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ การท างานร่วมกันหรือเชื่อมโยงงานและข้อมูลใน
และสังคมดิจิทัลให้มีความทันสมัย สอดคล้องต่อพลวัต ลักษณะที่เป็นองค์รวม ก าหนดเจ้าภาพรับผิดชอบ
ของเทคโนโลยีดิจิทัลและบริบทของสังคม แต่ละภารกิจ ปรับปรุงกฎระเบียบ และระบบ
3. สร้างความเชื่อมั่นในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล งบประมาณให้เอื้ออ านวยต่อการท างานร่วมกันของ
และการท าธุรกรรมออนไลน์ ด้วยการสร้างความมั่นคง ส่วนราชการ มีระบบประสานงานระหว่างส่วนราชการ
ปลอดภัยของระบบสารสนเทศและการสื่อสาร ในการให้บริการประชาชน นอกจากนี้ กลไกข้อนี้จะ
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การคุ้มครองผู้บริโภค รวมถึงการจัดตั้งกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม ให้เป็นกลไกทางเลือกในการสนับสนุนทาง
กลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนา การเงินกับโครงการด้านการพัฒนาดิจิทัล
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเศรษฐกิจและสังคม นอกเหนือจากการสนับสนุน
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลในครั้งนี้ ด้วยงบประมาณรายจ่ายประจ าปีของภาครัฐ
จะต้องด าเนินการผ่านกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 4. กลไกติดตามความก้าวหน้าของนโยบาย
อย่างครบวงจรและเต็มรูปแบบเพื่อวางรากฐาน แผนงาน โดยจะต้องมีการติดตาม ตรวจสอบ และ
เศรษฐกิจและสังคมไทยให้พร้อมเข้าสู่ยุคดิจิทัล โดยมี ประเมินผลความเป็นไปได้อย่างต่อเนื่องเป็นระยะ
ประเด็น ใน 4 ด้าน ดังต่อไปนี้ เมื่อพบปัญหาและอุปสรรคในการน านโยบายสู่การ
1. การขับเคลื่อนที่เป็นรูปธรรมในระยะเร่งด่วน ปฏิบัติ ต้องจัดให้มีกลไกช่วยเหลือแก้ปัญหาหรือ
โดยจัดให้มีกิจกรรมและโครงการระยะเร่งด่วนที่สุด จัดสรรทรัพยากรเพิ่มเติมตามความจ าเป็นและ
(1 ปี 6 เดือน) ที่มุ่งเน้นการลงทุนด้านโครงสร้าง เหมาะสมอย่างเพียงพอและทันท่วงที และน าผลที่ได้
พื้นฐานดิจิทัลและสร้างรากฐานการพัฒนาดิจิทัล จากการติดตามมาทบทวนเพื่อปรับปรุงให้สามารถ
ใน 6 ด้านตามยุทธศาสตร์การพัฒนาดิจิทัลฯ ตั้งแต่ ด าเนินการได้อย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ จะต้องเปิด
การพัฒนาความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน การเร่ง โอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนการ
พัฒนาระบบเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาเข้าสู่สังคม ปรึกษาหารือ การเปิดรับฟังความเห็นของประชาชน
ดิจิทัล การปฏิรูปการด าเนินการภาครัฐ การพัฒนาทุน ไปจนถึงการตรวจสอบ ติดตามความคืบหน้าการ
มนุษย์ ไปจนถึงการวางรากฐานด้านกฎ กติกา ด าเนินงาน เพื่อน าไปสู่การบริหารจัดการภาครัฐที่
มาตรฐานด้านดิจิทัล มุ่งเน้นความโปร่งใสและผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน
เป็นหลัก
2. การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงสถาบัน ขับเคลื่อนเป็น
โดยจะต้องมีการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการท างานของ รูปธรรมและเร่งด่วน
ภาครัฐ บูรณาการการท างานในลักษณะข้ามกระทรวง ปฏิรูปการท างาน
เพิ่มประสิทธิภาพของระบบราชการ ลดบทบาทภาครัฐ กลไก บูรณาการงานและ
กระจายและมอบอ านาจการปฏิบัติราชการ นอกจากนี้ ทรัพยากร
กลไกข้อนี้จะรวมถึงการจัดให้มีหน่วยงานกลาง เพื่อท า ติดตามและประเมินผล
หน้าที่ก าหนดนโยบาย ประสาน และขับเคลื่อนให้การ