Page 45 - Quality_of_life_2561
P. 45
จากการส�ารวจข้อมูลความจ�าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2561 ซึ่งเป็นข้อมูลในรอบปีที่ผ่านมา (ปี 2560)
ของคนไทยที่อาศัยอยู่จริงทั้ง 76 จังหวัด (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) จ�านวน 12,935,866 ครัวเรือน 36,644,309 คน
พบว่าคนไทยมีคุณภาพชีวิตตามเครื่องชี้วัดความจ�าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) จ�านวน 5 หมวด 31 ตัวชี้วัด ดังนี้
หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด
การมีสุขภาพดีเป็นองค์ประกอบสำาคัญในการดำารงชีวิตให้มีความสุข ต้องเป็นผู้ที่มีสภาวะทางร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์
ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีโครงสร้างของร่างกายที่เหมาะสม สามารถปฏิบัติงานหรือทำากิจกรรมต่างๆ ได้อย่างคล่องแคล่ว มีบุคลิกภาพที่
ดี ดังนั้น การพัฒนาคนให้เป็นผู้ที่มีสุขภาพแข็งแรง จึงถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นหมวดแรกในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวคิดความจำาเป็น
พื้นฐาน หมวดนี้ประกอบด้วย 7 ตัวชี้วัด มีผลการพัฒนา ดังนี้
จ�านวน ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์
ตัวชี้วัด ข้อมูลความจ�าเป็นพื้นฐาน
ที่ส�ารวจทั้งหมด จ�านวน ร้อยละ จ�านวน ร้อยละ
44 หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด
1. เด็กแรกเกิดมีนำ้าหนัก 2,500 กรัม ขึ้นไป 108 ,410 คน 108,108 คน 99.72 302 คน 0.28
2. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 78,980 คน 76,600 คน 96.99 2,380 คน 3.01
6 เดือนแรกติดต่อกัน
3. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตาราง
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4,342,212 คน 4,340,590 คน 99.96 1,622 คน 0.04
4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน 12,935,866 คร. 12,813,215 คร. 99.05 122,651 คร. 0.95
5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำาบัด บรรเทาอาการ
เจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างเหมาะสม 12,935,866 คร. 12,837,624 คร. 99.24 98,242 คร. 0.76
รายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย ปี 2561
6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำาปี 22,394,194 คน 21,490,356 คน 95.96 903,838 คน 4.04
7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำาลังกายอย่างน้อย 35,144,195 คน 34,953,072 คน 99.46 191,123 คน 0.54
สัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที
ข้อมูล ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2561