Page 5 - หน่วยที่ 6 บรรยากาศ 2
P. 5
พายุหมุนเขตร้อน
อำกำศร้อนชื้นลอยตัวขึ้น
• เกิดขึ้นบริเวณเหนือพื้นมหาสมุทร เมื่อน้่าในมหาสมุทรมีอุณหภูมิสูง จะเกิดการระเหยกลายเป็นไอน้่า
ปริมาณมาก อากาศจะร้อนชื้นและลอยตัวขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นบริเวณกว้าง อากาศบริเวณรอบข้าง
จึงเคลื่อนตัวเข้ามาแทนที่ และเมื่อประกอบกับการหมุนรอบตัวเองของโลกท่าให้อากาศพัดเวียนเข้า
หาจุดศูนย์กลางของบริเวณนั้น
อำกำศบริเวณรอบข้ำงเข้ำมำแทนที่
พายุหมุนเขตร้อน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
พายุไต้ฝุ่น พายุโซนร้อน พายุดีเปรสชัน
(typhoon) (tropical storm) (tropical depression)
พายุหมุนเขตร้อนในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นพายุดีเปรสชัน ควำมรุนแรง
มีควำมเร็วลม 64 นอต ขึ้นไป มีควำมเร็วลม 34-63 นอต มีควำมเร็วไม่เกิน 33 นอต ของพำยุทำงตอนบนของประเทศไทย น้อยกว่ำทำงภำคใต้ที่เป็นพื้นที่เปิดสู่ทะเล
(118 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไป) (62 - 117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) (61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ซึ่งพำยุที่พัดขึ้นฝั่งอ่ำวไทยและภำคใต้จะรุนแรงมำก ท ำให้เกิดลมแรงและฝนตก
หนักจนเกิดอุทกภัย