Page 13 - จังหวะชะชะช่า
P. 13

กติกาการแขงขัน

                                                                                    ิ
                        1.  ใหใชขอบังคับการกีฬาแหงประเทศไทย  วาดวยการแขงขันกีฬาเยาวชนแหงชาต พ.ศ. 2544 และที่แกไข

                                               ่
                                             ั
                          ั
                            ่
                   ่
                                                         ั
                  เพิมเติม (ฉบบที 2) พ.ศ. 2545 (ฉบบที 3) และ (ฉบบที่ 4) พ.ศ. 2546

                       2.   ใหใชกตกาการแขงขันของสหพนธกีฬาลีลาศนานาชาติ(International DanceSport Federation:IDSF)  และระเบยบ
                                                                                                         ี
                                                  ั
                                  ิ

                                          
                 การแขงขันของสมาคมกีฬาลีลาศแหงประเทศไทยประกาศใช

                        3.   ในกรณีที่เกิดปญหาที่มิไดระบุไวในขอบังคบหรือกตกาการแขงขัน  ใหผูแทนสมาคมกีฬาลีลาศแหงประเทศไทยเปน
                                                                ิ
                                                         ั
                                       ิ
                          ิ
                  ผูพิจารณาวนิจฉัย  ผลการวินจฉัยถือเปนที่สิ้นสุด

                           
                 ประเภทและรุนการแขงขัน

                      การแขงขันแบงออกเปน 2 ประเภท  ดังน  ี้

                      1.  ประเภทสแตนดารด  (Standard) แบงออกเปน 6 รุน ดังนี้
                        1.1.  รนจเวนไนล (Juvenile) จังหวะที่ใชในการแขงขัน 2 จังหวะไดแก Waltz และ Tango
                                ุ
                                
                                  ู
                                                                          

                               อายุไมเกิน 11 ป ฟกเกอรที่ใชในการแขงขัน “ Open Basic”
                                           

                        1.2.  รุนจูเนียร I (Junior I ) จังหวะที่ใชในการแขงขัน 2 จังหวะ ไดแก Waltz และ Tango

                                             
                               อายุ 12 – 13  ป ฟกเกอรที่ใชในการแขงขัน “ Open Basic”
                                               
                        1.3.    รุนจูเนียร II (Junior II ) จังหวะที่ใชในการแขงขัน 3 จังหวะ
                                

                                              
                               อายุ  14 – 15  ป ไดแก Slow Foxtrot ,Viennese Waltz  และ Quickstep

                               ฟกเกอรที่ใชในการแขงขัน “ Open Basic”
                        1.4.  รุนยูธส คลาส C จังหวะที่ใชในการแขงขัน 3 จังหวะ (Youth Class C) ไดแก Waltz , Tango และ Quickstep

                               อายุ  16 – 18 ป ฟกเกอรที่ใชในการแขงขัน “Variation ”
                                               

                                
                        1.5.    รุนยูธส คลาส B จังหวะที่ใชในการแขงขัน 4 จังหวะ (Youth Class B )


                               ไดแก Waltz , Tango ,Slow Foxtrot และ Quickstep
                               อายุ  16 – 18 ป ฟกเกอรที่ใชในการแขงขัน “Variation ”


                        1.6.  รุนยูธส คลาส A (Youth Class A ) จังหวะที่ใชในการแขงขัน 5 จังหวะ
                               ไดแก Waltz , Tango , Viennese Waltz , Slow Foxtrot และ Quickstep

                                               
                               อายุ  16 – 18 ป ฟกเกอรที่ใชในการแขงขัน “Variation ”
   8   9   10   11   12   13   14   15