Page 2 - จังหวะชะชะช่า
P. 2

จังหวะชะชะชา เปนจงหวะลลาศจังหวะหนึงในประเภทลาตินอเมรกัน พัฒนามาจาก จังหวะแมมโบ (MAMBO) ชื่อ
                                                                       ิ
                                                      ่
                                           ี
               จังหวะนี้ตั้งขึ้นโดยการเลียนเสียงของรองเทาขณะที่กําลังเตนรําของสตรีชาวคิวบา จังหวะชะชะชา ไดถูกพบเห็นเปนครั้ง
                                                                                                       ่
             แรกที่ประเทศอเมริกา แลวแพรหลายไปทั่วโลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 และไดรับความนิยมมาจนปจจุบัน ในขณะทีจังหวะ
                                                          ่
                                                   แมมโบเสือมความนิยมลง



                      จังหวะชะชะชา ไดเขามาที่ประเทศไทยในป พ.ศ. 2498 โดยชาวฟลิปปนสชื่อ เออรนี่ ซึ่งเปนนักดนตรีของวง

              ดนตรคณะ “ซีซา วาเลสโก” นายเออรนี่ ไดโชวลีลาการเตน ชะชะชา ประกอบการ เขยามาลากัส ซึ่งไดสรางความ
                   ี
              ประทับใจใหกับนักเตนและครูลีลาศของไทย จึงไดขอใหนายเออรนี่ ชวยสอนลีลาการเตน ชะชะชา โดยแทจริงแลวเปนการ
                                                        ู
                     ่
                                                                                      
                                                                     ่
                 เตนทีผิดหลักมาตรฐานสากล แตก็ไดมีการนําเอารปแบบการเตนทีเปนมาตรฐานสากลเขามาสอนแทนในภายหลัง

                      เอกลักษณเฉพาะของจังหวะชะชะชา คือใหความรูสึกเบิกบาน การแสดงความรักใคร การเคลื่อนไหวโดยทั่วไป

                                                                                          ้
                                                                                            ่
                                                             ่
                                                       ิ
                                               ิ
                     ไมใชพื้นที่มากนัก จะเตนเฉพาะบรเวณใดบรเวณหนึง ยกเวนในบางลวดลายอาจตองใชพืนทีพอสมควร

                       การสื่อความหมายของจังหวะชะชะชา สําคัญอยูที่ขาและเทา โครงสรางของการจัดทาเตนไมควรใหมีการ

              เคลื่อนที่มากนัก และตองมีความสมดุลที่ผูชมสามารถจะเขาใจในรูปแบบและติดตามทิศทางได สิ่งที่ควรใสใจอยางยิ่ง ควร

                                     มงเนนไปที่ “จังหวะเวลา” ของการเคลื่อนไหวในแตละทาทาง
   1   2   3   4   5   6   7