Page 8 - นวัตกกรมจุลสารส่งเสริมการอ่าน กศน.ปากเกร็ด
P. 8
ขั้นที่ 1 ก าหนดกรอบแนวทางในการด าเนินงาน
เป็นผลงานส่งเสริมการอ่านตามแนวพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ที่ กศน.ได้ด าเนินการในลักษณะโครงการ หรือกิจกรรมที่หน่วยงานหรือสถานศึกษาได้พัฒนาเป็นนวัตกรรม
คือ สิ่งใหม่ที่กระท าโดยใช้ความรู้ ความคิด การสร้างสรรค์ และการออกแบบ โดยมีการจัดท าเพื่อส่งเสริม
และพัฒนาประสิทธิภาพด้านการอ่าน โดยมีการด าเนินงาน ดังนี้
1.จุลสารประจ าเดือนเป็นจุลสารที่ส่งเสริมการอ่านตามแนวพระราชด าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
ฯ สยามบรมราชกุมารี เนื้อหาด้านในของหนังสือเป็นเนื้อหาเป็นประโยชน์ในงานด้านประชาสัมพันธ์ของ
กศน. ทั้งในด้านแหล่งเรียนรู้ภายในอ าเภอ การท่องเที่ยวส่วนท้องถิ่น ทั้งในด้านการแนะน าร้านอาหาร
สถานที่ท่องเที่ยว ความรู้ด้านเทคโนโลยี และข้อมูลด้านสุขภาพ
2.การท าจุลสารฉบับ E-Book นั้น เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการส่งเสริมการอ่าน เนื่องจาก
ปัจจุบันหนังสือที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์มีอัตราการอ่านน้อยลงผู้อ่านส่วนใหญ่สนใจการเสพข้อมูลผ่านสมาร์ท
โฟนมากขึ้น เพื่อให้ตอบโจทย์กับผู้อ่าน จึงได้จัดท าจุลสารประจ าเดือนเป็นฉบับ E-Book เพื่อให้เข้ากับวิถี
ชีวิตของคนในปัจจุบันโดยจุลสารฉบับ E-Book สามารถอ่านที่ไหนก็ได้เพียงแค่มีสมาร์ทโฟนที่เชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ต ก่อให้เกิดพฤติกรรม “นั่งที่ไหน อ่านที่นั่น”
3.การเผยแพร่ให้ผู้อื่นได้อ่านเป็นหัวใจหลักของนวัตกรรมนี้ เมื่อมีผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจ านวนมาก การ
สร้างแนวคิดเกี่ยวกับการเผยแพร่ข้อมูลผ่านสื่อโซเชียลเน็ตเวิร์ก เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในปัจจุบันที่ใช้
โซเซียลเน็ตเวิร์ก อาทิ ไลน์ เฟซบุ๊ก ฯลฯ การน าจุลสาร ฉบับ E-Book ไปเผยแพร่ในเพจเฟซบุ๊ก กศน.อ าเภอ
ซึ่งมีผู้ติดตามประมาณ 2,300 คน ผู้ติดตามเพจจะได้รับข้อมูล จุลสาร ฉบับ E-Book ผ่านการติดตาม ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเป็นนักเรียน นักศึกษากศน. ซึ่งแนวทางนี้สามารถน าไปใช้กับครู กศน.ต าบลได้ กล่าวคือ ครูสามารถ
ท า E-Book แล้วเผยแพร่ข้อมูลในเพจ ในกรณีที่ผู้อ่านต้องการซักถามข้อสงสัยนั้น ก็สามารถท าได้โดยง่าย
เพียงแค่พิมพ์ข้อความไว้ใต้ลิ้งค์ในเฟซบุ๊ก ซึ่งครูสามารถเข้าถึงข้อสงสัยเหล่านั้นได้อย่างรวดเร็ว
เป็นประโยชน์ด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม
1.อ่านได้ทุกที่ ผู้รับบริการสามารถอ่าน จุลสาร ฉบับ E-Book ประจ าเดือนได้ทุกที่ทุกเวลา โดยไม่
จ าเป็นต้องใช้บริการผ่านห้องสมุดเพียงอย่างเดียว
2.เนื้อหาด้านในของจุลสาร มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของ กศน. เช่น การรับสมัครเรียน แหล่ง
เรียนรู้ต่างๆ สถานที่ท่องเที่ยวในอ าเภอ ร้านอาหารท้องถิ่น วัด ช่วยสนับสนุนในเรื่องการท่องเที่ยวภายใน
พื้นที่
3. ลดค่าใช้จ่ายในการท าสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น วัสดุสิ้นเปลือง อาทิ กระดาษ หมึก และค่าขนส่ง
7