Page 115 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 115

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม



                         โดยมีค่า z - score มีค่าเท่ากับ -52.885616 ซึ่งสามารถบ่งบอกได้ว่าโรงงานอุตสาหกรรมของสงขลา ตก

                  อยู่ในช่วงการกระจายตัวเชิงพื้นที่แบบกระจุกตัวหรือเป็นกลุ่มก้อน (clustered distribution) ดังภาพ


















                                             ภาพที่ 4.1-24 ผลการวิเคราะห์การกระจายตัวเชิงพื้นที่ของสงขลา


                         จากผลการศึกษาพบว่า แบบรูปการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของแต่ละจังหวัดที่ส าคัญนั้นเป็นไปในทิศทาง

                  เดียวกัน กล่าวคือเป็นการกระจายตัวเชิงพื้นที่แบบกระจุกตัวหรือเป็นกลุ่มก้อน (clustered distribution) ซึ่ง
                  โรงงานส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่จะตั้งอยู่ที่ใจกลางเมืองของจังหวัดนั้นๆ เนื่องจากเป็นศูนย์รวมของแหล่งเศรษฐกิจ และ

                  ตลาดที่ส าคัญ โดยมีผู้บริโภคและผู้ประกอบการรวมตัวกันอยู่ อีกทั้งมีสิ่งอ านวยความสะดวกภายในพื้นที่ดังกล่าวที่

                  เพียบพร้อม มีโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสมและเพียงพอ อีกทั้งยังนิยมตั้งอยู่ใกล้บริเวณแหล่งวัตถุดิบ หรือใกล้เคียง
                  กับเส้นทางการคมนาคมที่คล้ายคลึงกัน เพื่อความสะดวกในการขนส่ง และช่วยลดต้นทุนในภาคการผลิต อีกทั้งยังมี

                  โครงข่ายที่เชื่อมโยงกับจังหวัดส าคัญอื่นๆ รวมไปถึงความปลอดภัยเรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติ เช่น ภัยน้ าท่วม และ
                  ภัยแล้งในบางพื้นที่อีกด้วย



                  4.2 การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการกระจายตัวของอุตสาหกรรมย้อนหลัง 5 ปี
                         ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการกระจายตัวของอุตสาหกรรมย้อนหลัง 5 ปีที่ผ่านมาของประเทศไทยยังคงมี

                  แบบรูปการกระจายเชิงพื้นที่ที่มีลักษณะเหมือนกัน กล่าวคือ มีการกระจายเชิงพื้นที่แบบกระจุกตัวหรือเป็นกลุ่ม
                  ก้อน (clustered distribution) โดยจะเป็นการกระจุกตัวที่มีความหนาแน่นเพิ่มมาขึ้นในแต่ละภาคส่วน









                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                            หน้า  4 - 19
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120