Page 2 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 2
ค ำน ำ
ส ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม (สศอ.) สังกัดกระทรวงอุตสำหกรรม เป็นหน่วยงำนภำครัฐที่มีบทบำท
ส ำคัญในกำรเป็นองค์กรหลักที่จะชี้น ำกำรพัฒนำอุตสำหกรรมของประเทศไปสู่ควำมยั่งยืน ภำยใต้พันธกิจส ำคัญ
หลำยประกำร อำทิเช่น กำรบูรณำกำร กำรผลักดันนโยบำยและแผนยุทธศำสตร์ในกำรพัฒนำอุตสำหกรรมสู่กำร
เติบโตอย่ำงยั่งยืน รวมถึงกำรจัดท ำ เชื่อมโยง และให้บริกำรข้อมูล กำรชี้น ำและกำรเตือนภัยเศรษฐกิจอุตสำหกรรม
และระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศที่ทันสมัย โดยตั้งแต่ปี พ.ศ.2534 เป็นต้นมำ สศอ. ได้ด ำเนินโครงกำรต่ำงๆ เพื่อ
สนับสนุนกำรด ำเนินงำนตำมนโยบำยของกระทรวงอุตสำหกรรมมำอย่ำงต่อเนื่องจ ำนวนมำก เช่น โครงกำรศึกษำ
และก ำหนดพื้นที่อุตสำหกรรม (ZONING) เพื่อรองรับกำรลงทุนของอุตสำหกรรมเป้ำหมำยในภูมิภำค โครงกำร
เตรียมควำมพร้อมภำคอุตสำหกรรมไทยเพื่อรองรับกำรเชื่อมโยงในภูมิภำคด้วยเศรษฐกิจดิจิตอล โครงกำรเพิ่มขีด
ควำมสำมำรถภำคอุตสำหกรรมภำยใต้นโยบำยเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศของไทย เป็นต้น
ระบบสำรสนเทศทำงภูมิศำสตร์ (GIS) เป็นระบบที่มีประสิทธิภำพในกำรจัดเก็บ จัดกำร วิเครำะห์ และ
แสดงผลข้อมูลทั้งในรูปแบบของแผนที่และฐำนข้อมูลเพื่อประกอบกำรตัดสินใจ โดยในปัจจุบัน พบว่ำ มีหลำกหลำย
องค์กรทั้งภำครัฐและเอกชน เร่งพัฒนำกำรใช้ระบบสำรสนเทศทำงภูมิศำสตร์ในกำรด ำเนินงำนขององค์กร เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภำพและประสิทธิผลในกำรให้บริกำรกับผู้ที่เกี่ยวข้อง จำกเหตุผลดังกล่ำว สศอ. จึงเห็นถึงควำมส ำคัญใน
กำรที่หน่วยงำนจ ำเป็นต้องพัฒนำระบบ GIS เพื่อใช้ในกำรวิเครำะห์ ให้บริกำรข้อมูลเชิงพื้นที่แก่บุคลำกรของ
กระทรวงอุตสำหกรรม ตลอดจนนักลงทุน ประชำชนผู้สนใจทั่วไปสำมำรถเรียกใช้งำน สืบค้นข้อมูล และแสดง
ต ำแหน่งบนแผนที่ผ่ำนระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต รวมถึงสำมำรถใช้เป็นข้อมูลเพื่อสนับสนุนกำรตัดสินใจ และใช้
ประกอบกำรก ำหนดนโยบำยและกำรวำงแผนส ำหรับผู้บริหำรได้
จำกหลักกำรและเหตุผลดังกล่ำว คณะที่ปรึกษำโครงกำรฯ ส ำนักงำนศูนย์วิจัยและให้ค ำปรึกษำแห่ง
มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ได้รับมอบหมำยจำกส ำนักงำนเศรษฐกิจอุตสำหกรรม ให้ด ำเนินกำรจัดท ำโครงกำรระบบ
สำรสนเทศทำงภูมิศำสตร์เพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขันของอุตสำหกรรม ในกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศทำง
ภูมิศำสตร์ พร้อมทั้งจัดหำซอฟต์แวร์และฮำร์ดแวร์ เพื่อเป็นข้อมูลในกำรก ำหนดนโยบำย วำงแผน และน ำไปสู่
มำตรกำรต่ำงๆ ที่จะใช้เป็นแนวทำงแก้ปัญหำ ตลอดจนเพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันระหว่ำงประเทศ อีก
ทั้งกำรพัฒนำอุตสำหกรรมระดับประเทศได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและยั่งยืนต่อไปในอนำคต
ส ำนักงำนศูนย์วิจัยและให้ค ำปรึกษำแห่งมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์
สิงหำคม 2561
ก.