Page 57 - การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
P. 57
48
6
LTF กับ RMF แตกต่างกันอย่างไร
LTF RMF
ต้องถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่า 7 ปี ต้องถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกว่า 5 ปี และ
7
ปฏิทิน จึงจะสามารถขายคืนหน่วย จะขายได้เมื่อผู้ถือหน่วยลงทุนอายุครบ 55 ปี
ลงทุนได้
สามารถหักลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริง
สามารถหักลดหย่อนภาษีได้ตามที่ สูงสุดไม่เกิน 15% ของเงินได้ในปีภาษีนั้น
จ่ายจริง สูงสุดไม่เกิน 15% ของเงินได้ และเมื่อรวมเข้ากับเงินกองทุนส ารองเลี้ยงชีพ
ในปีภาษีนั้น แต่ไม่เกิน 500,000 บาท กองทุนบ าเหน็จบ านาญข้าราชการ (กบข.)
กองทุนสงเคราะห์ครูโรงเรียนเอกชน และ
เบี้ยประกันชีวิตแบบบ านาญจะต้องไม่เกิน
500,000 บาท
ข้อควรรู้ ผู้ลงทุนควรศึกษาถึงเงื่อนไขการลงทุน นโยบายการลงทุน
สภาพคล่องในการซื้อขาย ผลการด าเนินงานของกองทุน และความความสามารถในการบริหาร
จัดการกองทุนของผู้จัดการกองทุนให้รอบด้าน ก่อนตัดสินใจลงทุนให้เหมาะสมกับตนเอง
4. กองทุนส ารองเลี้ยงชีพ คือ กองทุนที่นายจ้างและลูกจ้างจัดตั้งขึ้น มีเป้าหมาย
ส าหรับให้ลูกจ้างมีเงินใช้จ่ายเมื่อเกษียณอายุ ทุพพลภาพ หรือออกจากงาน โดยเงินของ
กองทุนมาจาก 2 ส่วน คือ
1) เงินสะสมจากลูกจ้าง กฎหมายก าหนดให้สะสมได้ในอัตราที่ไม่ต่ ากว่า 2%
และไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง
2) เงินสมทบจากนายจ้าง กฎหมายก าหนดให้สมทบในอัตราที่ไม่ต่ ากว่า
เงินสะสมของลูกจ้าง แต่ไม่เกิน 15% ของค่าจ้าง
ข้อดี ช่วยให้เก็บออมเงินได้ในระยะยาว ได้รับผลตอบแทนจากการที่
กองทุนน าเงินไปลงทุนในหลักทรัพย์หรือทรัพย์สินประเภทต่าง ๆ และเงินที่สะสมเข้ากองทุน
สามารถน าไปลดหย่อนภาษีได้
6
ข้อมูล ณ มิถุนายน 2559 เงื่อนไขและรายละเอียดอาจเปลี่ยนแปลงจากนี้
7 วิธีนับปีปฏิทิน จะเริ่มนับปีที่ท าธุรกรรมนั้น เช่น ซื้อ LTF ในเดือนธันวาคม 2559 จะนับปี 2559 เป็นปีที่ 1 ดังนั้น
จะสามารถขายหน่วยลงทุนได้ตั้งแต่วันที่ 2 มกราคม 2565 เป็นต้นไป
ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 | หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ว่าด้วยเรื่องของเงิน