Page 88 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 88
13 ํ 42’ N
100 ํ 40’ E
บึงหนองบอน
สวนหลวง ร.9
N
13 ํ 40’ N 200 m.
100 ํ 38’ E © DigitalGlobe_2011
“...สวนหลวง ร.๙ ก็เป็นกิจการอย่างหนึ่งที่เรียก สวนหลวง ร.๙
ว่าดูเหมือนจะไม่มีผลโดยตรงในทางที่จะให้มีรายได้อะไร
ตรงข้ามกลับเสียเงิน แต่ทุกอย่างนี้ที่เราท�ากัน อย่างที่ สวนหลวง ร.๙ เป็นสวนสาธารณะและสวน
ช่วยกัน ทั้งฝ่ายรัฐบาลทั้งฝ่ายเอกชนได้ร่วมกันท�า เพื่อให้ พฤกษศาสตร์ในพื้นที่ ๕๐๐ ไร่ ซึ่งเป็นสวนสาธารณะที่
งานการได้ส�าเร็จลุล่วงไปได้โดยดี...พูดถึงสวนหลวงนั่น ใหญ่ที่สุดของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่แขวงหนองบอน
นอกจากจะเป็นสวนสาธารณะ ก็เป็นจุดมุ่งหมายส�าคัญ เขตประเวศ ฝั่งตะวันออกของกรุงเทพมหานคร จัดสร้าง
ที่คิดว่าเป็นผล คือเป็นส่วนที่จะท�าให้การระบายน�้าดีขึ้น เพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จ
ท�าให้การป้องกันน�้าท่วมในกรุงเทพมหานครนี้ไหลสะดวก พระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสศุภมงคลสมัยเจริญ
ขึ้น ซึ่งก็น่าจะพูดถึงเพราะว่าเมื่อสองสามวันนี้ก็ท่วมกัน พระชนมพรรษาครบรอบ ๖๐ พรรษา ในวันที่ ๕
ถ้าหากว่าช่วยกันท�า โอกาสในการท่วมคงไม่รุนแรง แล้ว ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๐
ก็สามารถที่จะขจัดความเดือดร้อนนี้ไปได้โดยที่ไม่ต้อง เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕ ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค สวนหลวง ร.๙
ท�าโครงการใหญ่ แต่ว่าท�าช่วยกันท�าเป็นส่วนรวมให้ ร่วมกับกรุงเทพมหานคร มีแนวคิดที่จะสร้างสวนน้อม
สอดคล้องกัน ก็เชื่อว่าความเดือดร้อนนี้จะลดลงไป ฉะนั้น เกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การที่ท่านได้เสียสละทั้งแรงทั้งทรัพย์เพื่อการกุศลนั้น เพื่อใช้เป็นพื้นที่รับน�้าและปรับปรุงคุณภาพน�้า ก่อนไหล
ก็ไม่เสียเปล่า...” ลงสู่แม่น�้าเจ้าพระยา สนองพระราชด�าริของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อคราวน�้าท่วมกรุงเทพฯ พ.ศ.
พระราชด�ารัส ๒๕๒๓ ซึ่งมีการจัดตั้งมูลนิธิสวนหลวง และขอพระราชทาน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระบรมราชานุญาตใช้ชื่อสวนสาธารณะแห่งใหม่นี้ว่า
ณ พระต�าหนักจิตรลดารโหฐาน “สวนหลวง ร.๙”
๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๐
74 74 l