Page 290 - แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
P. 290

4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method)
                               - ด้านการด าเนินธุรกิจ 2 ด้าน มีปริมาณธุรกิจรวมทั้งสิ้น 264,480,960.58 บาท ประกอบด้วย ธุรกิจสินเชื่อ

                 จ านวนเงิน 251,877,845.00 บาท การรับฝากเงิน จ านวนเงิน 12,603,115.58 บาท
                               - ธุรกิจสินเชื่อ มีปริมาณธุรกิจถึงร้อยละ 95.23 ของมูลค่าธุรกิจรวม ในระหว่าปีจ่ายเงินกู้ให้สมาชิก

                 จ านวน 251,877,845.00 บาท เฉลี่ยเดือนละ 20,989,820.42 บาท โดอานวยประโยชน์ให้สมาชิกตามประเภทเงินให้กู้ 2 ประเภท
                 คือ เงินให้กู้ฉุกเฉินร้อยละ 34.66 เงินให้กู้สามัญ ร้อยละ 65.34 มีรายได้ดอกเบี้ยให้กู้คิดเงินเป็นร้อยละ 83.64 ของยอดรายได้
                 ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจาการลงทุน
                               - การรับฝาก สหกรณ์รับฝากเงินในระหว่างปี จ านวน 12,603,115.58 บาท เฉลี่ยเดือนละ 1,050,259.63
                 บาท เป็นการรับฝากเงินจากสมาชิกจากสมาชิกทั้งหมดจ านวน มีดอกเบี้ยจ่ายคิดเป็นร้อยละ 2.02 ของรายได้ดอกเบี้ยและ

                 ผลตอบแทนจากการลงทุน
                               - ด้านการท าไร สหกรณ์มีก าไรสุทธิสุทธิ จ านวน 8,912,401.01 บาท มีก าไรเฉลี่ยต่อสมาชิก 8,806.72 บาท
                 โดยรวมแม้ว่าสหกรณ์จะมีความสามารถในการท าก าไรคิดเป็นร้อยละ 87.47 ของรายได้ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากการลงทุน
                 มีปริมาณหนี้สินเฉลี่ย จ านวน 160,550.68 บาทต่อทุน การที่สหกรณ์มีเงินออมเฉลี่ยมากกว่าหนี้สินแสดงให้เห็นถึงสหกรณ์มี

                 เงินล้นระบบสหกรณ์ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมของเงินทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจ
                               -  ด้านผลกระทบของธุรกิจ การลดลงของอตราดอกเบี้ยภายนอกาจมีผลกระทบต่อการด าเนินธุรกิจของ
                                                               ั
                 สหกรณ์เนื่องจากธุรกิจของสหกรณ์เป็นการให้กู้เงินและรับฝากเงิน แม้สหกรณ์ได้ก าหนดอตราดอกเบี้ยสอดคล้องกับอตรา
                                                                                    ั
                                                                                                        ั
                                            ื่
                 ดอกเบี้ยภายนอก (สถาบันการเงิน) เพอเป็นการช่วยเหลือสมาชิกและลดต้นทุนทางการเงิน ก็ต้องท าความเข้าใจกับสมาชิกถึง
                 ผลตอบแทนที่ได้รับอาจจะน้อยลง

                            ้
                     ิ
              จากการวเคราะห์ขอมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะน าส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้
              กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา                             กลุ่มที่ต้องแก้ไขปัญหา
              สหกรณ์ที่ต้องพัฒนาให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ    สหกรณ์ที่มีขอบกพร่องต้องได้รับการแก้ไข/และเร่งรัด
                                                                           ้
              (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นิคม)                ติดตาม

              สหกรณ์ที่ต้องการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการด าเนินธุรกิจ   กลุ่มสหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้ค้างนาน
              โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ                          สหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้สูญ
                                    ึ่
                        ี่
              สหกรณ์ทเข้มแข็งสามารถพงตนเองได้ โดยให้ภาครัฐแนะน า  สหกรณ์ที่จ าเป็นต้องฟื้นฟูกิจการ
              ส่งเสริมและก ากับดูแลการด าเนินงานตามปกติ        สหกรณ์ที่ควรควบกิจการกับสหกรณ์อน
                                                                                             ื่
                                                               สหกรณ์ที่ควรเลิกกิจการ

                                                               สหกรณ์ที่มีปัญหาอน ๆ  (ระบุ)
                                                                                ื่

















                             Template แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564   290
   285   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295