Page 306 - แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
P. 306
- สหกรณ์อาจลดความเสี่ยงโดยใช้โอกาสจากทุนส ารองและทุนสะสมอนเพมขึ้น ซึ่งสหกรณ์สามารถใช้ทุน
ิ่
ื่
ส ารองและทุนสะสมอื่นไปหาประโยชน์เพอสร้างผลก าไรให้กับสหกรณ์ได้มากขึ้นในอนาคต เป็นการลดผลกระทบจากความเสี่ยง
ื่
ั
ั
ด้านอตราดอกเบี้ยที่รับที่อาจละลดลง และอตราดอกเบี้ยจ่ายที่อาจเกิดขึ้น ขณะที่อตราก าไรสุทธิปี 2562 ร้อยละ 98.97
ั
ิ่
เพมขึ้นจากปีก่อนที่แสดงร้อยละ 95.20 และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มากปี 2561 ที่แสดงอตราก าไร
ั
สุทธิร้อยละ 68.89 แสดงให้เห็นว่าความสามารถในการท าก าไรของสหกรณ์สูงกว่าสภาวะปกติ
ิ่
- ด้านสภาพคล่อง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 สหกรณ์มีสินทรัพย์หมุนเวียน 187.72 ล้านบาท เพมขึ้นจาก
ปีก่อน 13.66 ล้านบาท คิดเป็นร้อนละ 7.85 ด้านหนี้สินหมุนเวียนรวม 0.08 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อน 1,982.00 บาท คิดเป็น
ิ่
ั
ร้อยละ 2.44 ส่งผลให้อตราส่วนทุนหมุนเวียน 2,255.91 เท่า เพมขึ้นจากปีก่อนที่แสดง 2,142.75 เท่า และสูงกว่าค่าเฉลี่ยของ
สหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มาก ปี 2561 ที่แสดง 0.810 เท่า เนื่องจากเงินสดและเงินฝากธนาคารที่เพมขึ้น ในขณะที่เงินฝาก
ิ่
ั
ื่
ื่
ิ่
สหกรณ์อน รวมถึงเงินให้กู้ยืมระยะสั้นที่ลดลง ด้านหนี้สิ้นหมุนเวียน มีหนี้สินหมุนเวียนอน เพมขึ้นเล็กน้อย ท าให้อตราส่วน
สภาพคล่องของสหกรณ์สูงขึ้น และด้วยความต้องการเงินกู้ของสมาชิกสหกรณ์จ านวนลง ท าให้จ านวนเงินที่เหลืออยู่ของ
สหกรณ์เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิก อีกทั้งความเสี่ยงจากความเสี่ยงจากความเพยงพอของเงินทุนตามที่กล่าวไว้ อาจจะ
ี
มีผลกระทบต่อสภาพคล่องของสหกรณ์ได้ ซึ่งท าให้สหกรณ์อาจจะต้องเตรียมแผนส ารองฉุกเฉินอนเนื่องจากความเสี่ยงด้าน
ั
สภาพคล่องของสหกรณ์ หากสภาพคล่องของสหกรณ์สูงขึ้น จะสามารถช าระหนี้ระยะสั้นได้รวดเร็ว แต่อาจเสียโอกาสในการน า
สินทรัพย์สภาพคล่องไปใช้ให้เกิดประโยชน์ หากสภาพคล่องลดลง สหกรณ์อาจมีความสามารถในการช าระหนี้ระยะสั้นลดลง
หรือต้องหาแหล่งเงินทุนระยะสั้นเพมขึ้น แต่สามารถใช้สินทรัพย์สภาพคล่องให้เกิดประโยชน์มากขึ้น ดังนั้นสหกรณ์ควร
ิ่
พิจารณาการใช้เงินใช้เงินสัมพนธ์กับแหล่งเงินทุนที่ได้มา
ั
ุ
3. ด้านวัตถุดิบ* (Material) เครื่องจักรและอปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์
- ไม่มี –
4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method)
- สหกรณ์ด าเนินธุรกิจในด้านเดียว ได้แก่
- ธุรกิจสินเชื่อ มีปริมาณธุรกิจ 65.53 บ้านบาท ลดลงจากปีก่อน 6.86 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.48 ต่ า
กว่าปีก่อนที่มีการขยายตัวลดลงร้อยละ 2.31 และเมื่อเปรียบเทียบปริมาณธุรกิจเฉลี่ยของสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มาก ปี
2561 ที่แสดงลดลงร้อยละ 6.73 สหกรณ์จึงมีการขยายตัวของธุรกิจต่ ากว่าค่าเฉลี่ย
- ด้านการท าก าไร สมาชิกออมเงินกับสหกรณ์ในรูปแบบของทุนเรือนหุ้น โดยมีค่าเฉลี่ยต่อคน 179,077.66
บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 19,011.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 11.88 แต่ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยของสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่มา ปี 2561
ที่แสดงเงินออมต่อสมาชิก 260,786.09 บาท ขณะเดียวกันสมาชิกเป็นลูกหนี้ของสหกรณ์ เฉลี่ยต่อคนที่ 21,410.73 บาท ลดลง
จากปีก่อน 2,020.06 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.62 และต่ ากว่าค่าเฉลี่ยของสหกรณ์ออมทรัพย์ขนาดใหญ่ ปี 2561 ที่แสดง
275,313.58 บาท สมาชิกจึงออมเงินกับสหกรณ์มากว่าเป็นลูกหนี้ของสหกรณ์ เฉลี่ยต่อคนที่ 157,666.94 บาท แสดงให้เห็นถึง
ความเสี่ยงของสหกรณ์ในการที่จะต้องหาแหล่งลงทุนอนภายนอก เพอลดปริมาณเงินทุน และท าให้สหกรณ์มีโอกาสในการท า
ื่
ื่
ก าไรสูงขึ้นจากผลต่างของดอกเบี้ยรับเงินฝาก/เงินลงทุนกับต้นทุนเงินลงทุน/ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก ซึ่งอาจต้องแลกกับความ
เสี่ยงในการรับรู้ผลขาดทุนที่อาจจะเกิดขึ้นหากไม่สามารถถอนคืนเงินฝาก/เงินลงทุนจากแหล่งลงทุนได้
Template แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 306