Page 393 - แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
P. 393

3. ด้านวัตถุดิบ* (Material) เครื่องจักรและอปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์
                                                         ุ
                               - สหกรณ์ใช้โปรแกรมระบบบัญชีออมทรัพย์ Version  2  ของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ในการบันทึกบัญชี

                 และทะเบียนย่อยต่าง ๆ และจัดท าบัญชีด้วยมือควบคู่ไปด้วย เป็นไปตามที่นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนด              การ
                 ประมวลผลข้อมูลทะเบียนทุนเรือนหุ้น และลูกหนี้เงินให้กู้เรียบร้อย และตรงกับบัญชีคุมยอด

                        4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method)
                               - สหกรณ์ด าเนินธุรกิจด้านสินเชื่อ โดนระหว่างปีมีการจ่ายเงินให้สมาชิกกู้ เป็นเงิน จ านวน 62,94,633.00
                 บาท  ปีก่อนจ านวน 67,265,811.00 บาท มีผลท าให้อตราเติบโตของธุรกิจลดลงจากปีก่อน ร้อยละ (6.94) ปีก่อนลดลง  ร้อยละ
                                                       ั
                                  ี
                 (0.29) แสดงว่าสหกรณ์มการจ่ายเงินให้กู้ลดลงเมื่อเทียบปีก่อน
                               - ด้านการท าก าไร สหกรณ์มีรายได้ทั้งสิ้น จ านวน 3,202,36.60 บาท เพมขึ้นจากปีก่อน จ านวน 49,82930
                                                                                  ิ่
                          ิ่
                 บาท หรือเพมขึ้น ร้อยละ 1.58 มีค่าใช้จ่ายลดลงจากปีก่อน จ านวน 2,306.37 บาท หรือลดลงร้อยละ (0.97) เป็นผลให้สหกรณ์
                                                                                                ิ่
                 มีก าไรสุทธิ จ านวน 2,967,48.48 บาท คิดเป็นร้อยละ 96.30 ของรายได้ดอกเบี้ยและผลตอบแทน ก าไรสุทธิเพมขึ้นจากปีก่อน
                 จ านวน 52,135,.67 บาท หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.79

                            ้
              จากการวเคราะห์ขอมูลสหกรณ์ สามารถจัดกลุ่มและแนวทางในการแนะน าส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ ดังนี้
                     ิ
              กลุ่มเข้มแข็ง/พัฒนา                             กลุ่มที่ต้องแก้ไขปัญหา
              สหกรณ์ที่ต้องพัฒนาให้เป็นองค์กรหลักระดับอ าเภอ    สหกรณ์ที่มีขอบกพร่องต้องได้รับการแก้ไข/และเร่งรัด
                                                                           ้
              (เฉพาะสหกรณ์การเกษตร ประมง นิคม)                ติดตาม

              สหกรณ์ที่ต้องการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการด าเนินธุรกิจ   กลุ่มสหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้ค้างนาน
              โดยการสนับสนุนจากภาครัฐ                          สหกรณ์ที่มีปัญหาหนี้สูญ

                        ี่
              สหกรณ์ทเข้มแข็งสามารถพงตนเองได้ โดยให้ภาครัฐแนะน า  สหกรณ์ที่จ าเป็นต้องฟื้นฟูกิจการ
                                    ึ่
              ส่งเสริมและก ากับดูแลการด าเนินงานตามปกติ        สหกรณ์ที่ควรควบกิจการกับสหกรณ์อน
                                                                                             ื่
                                                               สหกรณ์ที่ควรเลิกกิจการ
                                                               สหกรณ์ที่มีปัญหาอน ๆ  (ระบุ)
                                                                                ื่

                  แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกร  ณ์/กลุ่มเกษตรกร

                        จากการวิเคราะห์ข้อมูลของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สามารถก าหนดเป้าหมายในการแนะน าส่งเสริม พฒนา และ
                                                                                                    ั
                 ก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังนี้

                 1) ระดับชั้นสหกรณ์: รักษาระดับสหกรณ์ชั้น 1 และชั้น 2ยกระดับสหกรณ์ชั้น 2 และ ชั้น 3 สู่ชั้นที่ดีขึ้น
                 2) มาตรฐานสหกรณ์: รักษามาตรฐานสหกรณ์ให้อยู่ในระดับดีขึ้นไป
                               ผลักดันสหกรณ์ให้ผ่านมาตรฐานหรืออยู่ในระดับที่ดีขน
                                                                         ึ้
                 3) อื่น ๆ สมาชิกมีส่วนร่วมในการด าเนินธุรกิจกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น













                             Template แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564   393
   388   389   390   391   392   393   394   395   396   397   398