Page 11 - User Guide 2018 for eBooks_Neat-2
P. 11
คู่มือการใช้บริการศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
ศูนย์วิทยบริการแบ่งพื้นที่จัดวางทรัพยากรสารสนเทศเป็นสัดส่วน และชั้นจัดเก็บต่างๆ ดังนี้
ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 2
ชั้นจัดเก็บและให้บริการหนังสือพิมพ์
ชั้นจัดเก็บวารสาร นิตยสาร วารสารเย็บเล่ม จุลสาร จดหมายข่าว
ชั้นหนังสือทั่วไป ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาญี่ปุ่น
ชั้นตำาราเรียนสำารอง (Reserved Book) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ชั้นหนังสืออ้างอิง ประกอบด้วย พจนานุกรม สารานุกรม และนามานุกรม
ชั้นนวนิยาย (Fiction) เรื่องสั้น (Short story) การ์ตูน (Comic)
ชั้นหนังสืออ่านนอกเวลาภาษาอังกฤษ (English Reader)
มุมหนังสือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET Corner)
มุมหนังสือประชาคมอาเซียน (ASEAN Corner)
มุมหนังสือ Abe Shinzo Library
มุมหนังสือน่าอ่าน (Best Book to Read)
ศูนย์วิทยบริการ ชั้น 1
ชั้นวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ และรายงานการวิจัย
โครงงานสหกิจศึกษา
สื่อมัลติมีเดียประเภทบันเทิงและสารคดี (DVD ภาพยนตร์และสารคดี)
หมายเหตุ:
- หนังสือทั่วไป หนังสืออ้างอิง และตำาราเรียนสำารองจัดเรียงตามระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC)
- หนังสือทั่วไป หมายถึง หนังสือในสาขาวิชาต่างๆ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสือที่กำาหนดสัญลักษณ์
พิเศษ เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น การ์ตูน หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสือที่จัดเก็บตามมุมต่างๆ
(หนังสือทุกประเภทที่ไม่ใช่ตำาราเรียนสำารองและหนังสืออ้างอิง)
- หนังสืออ้างอิง หมายถึง หนังสือสำาหรับศึกษาค้นคว้าความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ
ซึ่งให้ใช้บริการภายในศูนย์วิทยบริการเท่านั้น ไม่อนุญาตให้ยืมออก
- ตำาราเรียนสำารอง หมายถึง หนังสือที่อาจารย์หรือบรรณารักษ์สำารองไว้ในศูนย์วิทยบริการ เพื่อให้
นักศึกษาใช้ประกอบการเรียนในรายวิชาใดวิชาหนึ่ง 8