Page 4 - TNI Library User Guide 2018_Lib
P. 4
คู่มือการใช้บริการศูนย์วิทยบริการ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
TNI LIBRARY
ศูนย์วิทยบริการเปิดดำาเนินการใน
วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2550 พร้อมกับการ
เปิดการเรียนการสอนของสถาบันในภาคการ
ศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โดยจัดให้มีที่
นั่งอ่านหนังสือ จำานวน 90 ที่นั่ง และเปิด http://library.tni.ac.th
ให้บริการศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อให้
บริการคอมพิวเตอร์ จำานวน 24 เครื่อง โดยมี ปี พ.ศ. 2555 ได้เพิ่มมุมบริการทรัพยากร
พื้นที่รวมทั้งสิ้น 494 ตารางเมตร สารสนเทศเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน (ASEAN
ในการเปิดทำาการครั้งแรกนั้นได้นำาระบบ Corner) และมุมหนังสือ Abe Shinzo Library
ห้องสมุดอัตโนมัติ CDS\ISIS for Windows ซึ่งให้บริการทรัพยากรสารสนเทศประเภท
มาใช้ในการจัดการระบบงานต่างๆ ต่อมาได้ หนังสือทั่วไปภาษาญี่ปุ่น โดยได้รับอภินันทนาการ
เปลี่ยนเป็นระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM จาก Mr. Abe Shinzo นายกรัฐมนตรีของ
(Union Library Management) จนถึงปัจจุบัน ประเทศญี่ปุ่น และยังได้ปรับปรุงบริการภายใน
ในปี พ.ศ.2552 จัดให้มีที่นั่งอ่านหนังสือ ห้อง Study Lounge ชั้น 1 โดยการนำาวารสาร
เพิ่มเป็นจำานวน 130 ที่นั่ง และเพิ่มคอมพิวเตอร์ ล่วงเวลาและหนังสือพิมพ์ฉบับย้อนหลังไปจัดให้
ภายในศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็น 40 เครื่อง บริการอีกด้วย
นอกจากนี้ได้จัดให้มี Edutainment Corner เพื่อ ในปี พ.ศ. 2556 ได้เพิ่มมุมบริการสหกิจ
ให้บริการสื่อมัลติมีเดียด้านบันเทิงและสารคดี ศึกษาและจัดหางานเพื่อให้บริการข้อมูลบริษัท/
ปี พ.ศ. 2554 จัดให้มีที่นั่งอ่านหนังสือ หน่วยงาน ที่เป็นเครือข่ายโครงการสหกิจศึกษา
เพิ่มอีกเป็นจำานวน 170 ที่นั่ง และเพิ่มพื้นที่นั่ง และเพิ่มมุมบริการหนังสือน่าอ่าน (Best Book
อ่านหนังสือตามอัธยาศัยบริเวณ ชั้น 1 อาคาร to Read) ซึ่งให้บริการแนะนำาหนังสือใหม่และ
A จำานวน 130 ที่นั่ง และตั้งชื่อห้องว่า Study หนังสือเตรียมสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น และ
Lounge ต่อมาได้ย้ายศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้นำาระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM (Union
ไปที่ห้อง A308 ชั้น 3 อาคาร A โดยอยู่ในความ Library Management) มาใช้ในการจัดการ
ดูแลของศูนย์สารสนเทศและการสื่อสาร (ICC) ระบบงานและการให้บริการในรูปแบบต่างๆ
1